Page 116 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 116
102
ตารางที่ 4.24 แสดงการเปรียบเทียบจ านวนร้อยละของความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) จ าแนกเป็นรายข้อ ระหว่าง
ก่อนการปรับปรุงรูปแบบและหลังการปรับปรุงรูปแบบ (n =25)
ระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบ ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ หลังการปรับปรุงรูปแบบ
การดูและสุขภาพของผู้สูงอายุ ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ผลต่าง
ด้วยหลักพุทธธรรม ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
1. ถ้าท่านมีอารมณ์โกรธบ่อยๆ จะท าให้
เกิดความเครียด 56.0 44.0 80.0 20.0 24.0
2. เมื่อท่านท าสิ่งที่ท าให้มีความสุขช่วยท าให้
ร่างกายท่านสดชื่น และมีชีวิตชีวา 100 0.0 100 0.0 0.0
3. สิ่งที่ท าแล้วมีความสุขของแต่ละคนอาจ
เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่ต้องเกิด
ประโยชน์ต่อตัวเองสังคมและไม่เบียดเบียนผู้อื่น 100 0.0 100 0.0 0.0
4. ท่านควรเลือกท าในสิ่งที่ชอบ และมีความ
สนุกสนาน เหมาะกับความรู้ประสบการณ์เก่าๆ
ที่มีอยู่แล้ว 96.0 4.0 96.0 4.0 0.0
5. ท่านมีงานอดิเรกท าในชีวิตประจ าวัน เช่น
อ่านหนังสือหรือสิ่งอื่นที่ท่านอยากท า 84.0 16.0 96.0 4.0 12.0
6. บุคคลในครอบครัวชื่นชมเมื่อท่านสุขภาพดี 100 0.0 100 0.0 0.0
7. เมื่อท่านเจ็บป่วยรู้สึกไม่สบายบุคคลใน
ครอบครัวถามถึงอาหารเจ็บป่วยของท่านด้วย
ความเป็นห่วง 100 0.0 96.0 4.0 4.0
8. แม้จะมีความขัดแย้งเกิดขึ้นในครอบครัว
ของท่านบุคคลในครอบครัวก็ยังพูดกับท่าน
ด้วยเหตุผลและใส่ใจในความเป็นอยู่ของท่าน 92.0 8.0 96.0 4.0 4.0
9. บุคคลในครอบครัวคอยให้ก าลังใจ เมื่อท่าน
รู้สึกท้อแท้จากปัญหาส่วนตัวและการเจ็บป่วย 96.0 4.0 96.0 4.0 0.0
10 ท่านท ากิจกรรมในยามว่าง เช่น ไปงาน
บุญอยู่เสมอเมื่อมีโอกาส และเมื่อรู้สึกเครียด
จะท ากิจกรรมที่เพลิดเพลินเพื่อผ่อนคลาย
เช่น สวดมนต์/นั่งสมาธิ 96.0 4.0 100 0.0 4.0
เฉลี่ยร้อยละ 92.0 8.0 96.0 4.0 4.0