Page 111 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 111
97
ตารางที่ 4.21 (ต่อ)
ระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบ ก่อนการปรับปรุงรูปแบบ หลังการปรับปรุงรูปแบบ ผลต่าง
การดูและสุขภาพของผู้สูงอายุ จ านวน(คน) ร้อยละ จ านวน(คน) ร้อยละ ร้อยละ
ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพจิต
ความรู้ระดับสูง 20 80.0 24 96.0 16.0
ความรู้ระดับปานกลาง 0 0.0 0 0.0 0.0
ความรู้ระดับต่ า 5 20.0 1 4.0 16.0
เฉลี่ยร้อยละของความรู้ระดับสูง 79.4 89.1 9.7
เฉลี่ยร้อยละของความรู้ระดับปานกลาง 17.1 8.6 8.5
เฉลี่ยร้อยละของความรู้ระดับต่ า 3.5 2.3 1.2
จากตารางที่ 4.21 ผลการเปรียบเทียบระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพ
ของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ระหว่าง
ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมการด าเนินงานตามโครงการวิจัย พิจารณาในภาพรวม พบว่า ส่วน
ใหญ่มีระดับความรู้ถูกต้องทุกด้านเฉลี่ยร้อยละ 79.4 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีระดับความรู้
ถูกต้องสูงมากที่สุดได้แก่ ด้านการพัฒนากาย(กายภาวนา)และด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) คิดเป็นร้อย
ละ 100 ด้านที่มีระดับความรู้ถูกต้องน้อยที่สุด ได้แก่เรื่องการพัฒนาองค์ความรู้(ปัญญาภาวนา) คิดเป็น
ร้อยละ 52.0
และหลังการเข้าร่วมกิจกรรมการด าเนินงานตามโครงการวิจัยแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่มี
ระดับความรู้ถูกต้องทุกด้านเฉลี่ยร้อยละ 89.1 มีระดับความรู้ถูกต้องเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.7 เมื่อพิจารณา
เป็นรายด้านพบว่า ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ถูกต้องสูงมากที่สุดในด้านการพัฒนาจิต(จิตภาวนา) คิดเป็น
ร้อยละ 100 รองลงมาได้แก่ ความรู้ด้านการป้องกันโรค และความรู้ด้านการดูแลสุขภาพจิตร้อยละ
96.0 ด้านที่มีระดับความรู้ถูกต้องน้อยที่สุดได้แก่ ความรู้เรื่องการพัฒนาองค์ความรู้(ปัญญาภาวนา) คิด
เป็นร้อยละ 68.0
3) ผลการเปรียบเทียบความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ในภาพรวมก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมฯ