Page 16 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 16

2


                       ในภาวะเปราะบาง หนึ่งในสามของผู้สูงอายุมีรายได้ต่ ากว่าเส้นความยากจน บุตรซึ่งเคยเป็นแหล่ง
                       รายได้หลักส าคัญของผู้สูงอายุมีสัดส่วนลดลง ร้อยละของผู้สูงอายุที่อยู่ตามล าพังคนเดียวหรืออยู่กับ

                       ผู้สูงอายุด้วยกันตามล าพังมีแนวโน้มสูงขึ้น จ านวนผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงประมาณ 4 แสนคน
                       เป็นโรคสมองเสื่อมประมาณ 6 แสนคน ผู้สูงอายุที่อยู่ในเขตเมืองและชนบทที่มีสถานภาพทาง

                       เศรษฐกิจต่างกันยังมีความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงบริการสุขภาพอนามัย ซึ่งเกิดจากข้อก าจัดในการ
                             3
                       เดินทาง

                                 ปี พ.ศ. 2559 จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีประชากรทั้งสิ้น จ านวน 810,320 คน มีจ านวน

                       ประชากรสูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จ านวน 132,790 คน คิดเป็นร้อยละ 16.39 ของระดับประเทศ
                                                                                                         4
                       ในขณะที่ดัชนีการสูงวัยเมื่อปี พ.ศ. 2558 จ านวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) มีจ านวน 127,500 คน คิดเป็น
                       ร้อยละ 98.30  ในปี 2563 จ านวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) จ านวน 149,800 คน คิดเป็นร้อยละ 126.20ใน

                       ปี พ.ศ. 2568 จ านวนผู้สูงอายุจ านวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) จ านวน 175,300 คน คิดเป็นร้อยละ 162.16
                                                                                                         5
                       และในปี 2573 จ านวนผู้สูงอายุ(60 ปี +) จ านวน 197,900 คน คิดเป็นร้อยละ 203.39 ตามล าดับ
                       และเมื่อเทียบสัดส่วนของกลุ่มประชากรที่เกิดขึ้นในช่วง ปีพ.ศ. 2506 - 2526 อีก 7 ปีข้างหน้า

                       ประชากรรุ่นนี้จะเริ่มเคลื่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งจะท าให้จ านวนประชากรสูงอายุในจังหวัด
                       พระนครศรีอยุธยาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นจ านวนมาก


                                 การเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายวิภาคและทางสรีรวิทยาเนื่องจากความชราเกิดขึ้นในทุก

                       ระบบอวัยวะของผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ ศาสตราจารย์ น.พ. ประเสริฐ อัสสันตชัย
                       คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้สรุปไว้ ดังนี้


                                 1. การมีลักษณะทางเวชกรรมที่แตกต่างจากผู้ป่วยทั่วไป ได้แก่ ภาวการณ์หกล้ม การ
                       สูญเสียความสามารถในการเดิน อาการซึมสับสนเฉียบพลัน(Delirium) ภาวะสมองเสื่อม(Dementia)

                       อาการน้ าหนักลด ตลอดจนภาวะเปราะบาง (Frailty)
                                 2. การมีพยาธิสภาพหลายชนิดในหลายระบบอวัยวะในเวลาเดียวกันแล้วส่งผลกระทบซึ่ง
                       กันและกัน
                                 3. การใช้ยาหลายขนานร่วมกัน (Poly pharmacy) เป็นสาเหตุส าคัญที่สุดต่อการเกิดผล

                       ไม่พึงประสงค์จากยา




                                 3  มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.), สถำนกำรณ์ผู้สูงอำยุ พ.ศ.2559,,หน้า 3- 4,
                                 4  กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ระบบสถิติทำงกำรลงทะเบียน,สถิติประชากรและบ้าน –
                       จ านวนประประชากรจ าแนกรายอายุ,ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
                                 5  ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์,ศูนย์เทคโนโลยีสำรสนเทศและ
                       กำรสื่อสำร,ประชำกรสูงอำยุไทย : ปัจจุบันและอนำคต,เอกสารประมวลสถิติด้านสังคม 1/2558,พฤศจิกายน
                       2557 .(มปท.)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21