Page 19 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 19
5
1.4 สมมุติฐำนกำรวิจัย
การเรียนรู้จากการเข้าร่วมโครงการ และผลการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ
ด้วยหลักพุทธธรรม ระหว่างก่อนและหลังการปรับปรุงรูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม แตกต่างกัน
1.5 ขอบเขตของกำรวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยก าหนดขอบเขตการวิจัยไว้ดังนี้
1.5.1 ขอบเขตด้ำนพื้นที่/ประชำกร ประกอบด้วย
1) บริบทของชุมชนพื้นที่วัดสุคนธาราม หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ต าบลเทพมงคล
ที่เอื้อต่อการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ 60 ปี-69 ปี สถานการณ์สุขภาพ
ผู้สูงอายุ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ด้านความเป็นอยู่อาศัย ด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง
การปกครอง
2) การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุบนฐานการบูรณาการ
ร่วมกันของภาคีความร่วมมือของกลุ่ม องค์กรชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่มี 7 ขั้นตอน
ได้แก่
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์และปัญหาอุปสรรค ความต้องการจ าเป็นของกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ชุมชนและบริบทพื้นที่ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ชุมชนแบบ
มีส่วนร่วม (A-I-C)
ขั้นตอนที่ 3 คณะผู้วิจัยออกแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเพื่อบูรณาการใน
บริบทของพื้นที่ด้วยหลักพุทธธรรม ประกอบด้วย
- 3.1 ข้อสรุปจากการศึกษาสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรค และความต้องการ
จ าเป็นในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ
- 3.2 ข้อสรุปจากการวิเคราะห์ชุมชนและบริบทของพื้นที่
- 3.3 จัดท ารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ขั้นตอนที่ 4 สร้างรูปแบบในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม โดย
ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 3 คน
ขั้นตอนที่ 5 เป็นการน ารูปแบบไปทดสอบ (Try out) ก่อนน าไปทดลองใช้จริงกับ
กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3
ขั้นตอนที่ 6 ท าการประเมินและน ารูปแบบไปปรับปรุงแก้ไข
ขั้นตอนที่ 7 ทดลองใช้ และท าการประเมินผลด้วย pre-test และ post-Test แล้ว
ท าการพัฒนารูปแบบ มีกระบวนการด าเนินงาน ดังนี้
7.1 ทดสอบรูปแบบกำรดูแลสุขภำพของผู้สูงอำยุด้วยหลักพุทธธรรม
ประกอบด้วย