Page 78 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 78
64
3.5 กำรวิเครำะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 3 ส่วน
1) ข้อมูลเชิงปริมำณ
น าข้อมูลทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน แล้วลงรหัสบันทึกข้อมูลเข้า
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าหรับวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์ มีดังนี้
(1) ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ าสุด – ค่าสูงสุด น าเสนอในรูปของตาราง แจกแจงความถี่
(2) ข้อมูลระดับความรู้และการฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม แปลผลเป็นค่าคะแนนและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลัง
การปรับปรุงรูปแบบฯ ถ้าพบว่าข้อมูลที่ได้มีการแจกแจงปกติใช้สถิติ Paired t-test
2). ข้อมูลเชิงคุณภำพ
เป็นข้อมูลที่ได้จากการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เจาะลึกและการสังเกตพฤติกรรม
การมีส่วนร่วม หลังจากตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลที่ได้แล้ว จะน ามาแยกเป็นหมวดหมู่
ตามประเด็นปัญหา จากนั้นท าการตีความหมายของข้อมูลที่ได้ตามการรับรู้ของผู้ให้ข้อมูล ซึ่งทั้งหมด
เป็นการวิเคราะห์จากเนื้อหาของข้อมูล (Content Analysis) ที่ได้จากผู้ให้ข้อมูล เพื่อสรุปเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์และเหตุผลในการจัดท ารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ต่อไป
3) ข้อมูลกำรตรวจสุขภำพร่ำงกำยผู้สูงอำยุ (ปฏิบัติการชีวะเคมี การเจาะเลือดที่ปลาย
นิ้ว) จ านวน 9 รายการ
3.6 สูตรสถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล
ในการวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมการวิจัยทาง
สังคมศาสตร์ ดังนี้
1. ค่าร้อยละ (Percentage)
2. ค่าเฉลี่ย (Mean)
3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
4. ถ้าข้อมูลที่ได้มีการแจกแจงปกติจะใช้สถิติ Paired t-test