Page 75 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 75
61
ตอบถูก ให้ 1 คะแนน 0 คะแนน
ตอบไม่ถูก ให้ 0 คะแนน 1 คะแนน
3
การแปลผลจัดกลุ่มระดับคะแนนด้านความรู้แบบอิงเกณฑ์ของ Bloom ดังนี้
ความรู้ระดับสูง คะแนนร้อยละ 80-100
ความรู้ระดับปานกลาง คะแนนร้อยละ 60-79
ความรู้ระดับต่ า คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 60
2) การวัดด้านการฝึกปฏิบัติตัวในการพัฒนาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม แบ่งการประเมินการฝึกปฏิบัติเป็น 4 ด้าน คือ
1) การพัฒนากาย(กายภาวนา)
2) การพัฒนาสังคม(ศีลภาวนา)
3) การพัฒนาจิต(จิตภาวนา)
4) การพัฒนาปัญญา(ปัญญาภาวนา)
3) วิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบให้เลือกตอบ 3 ตัวเลือก วัดระดับการ
ปฏิบัติเป็นแบบประมาณค่า (Rating Scale) มีเกณฑ์การปฏิบัติ 3 ระดับ คือ ปฏิบัติเป็นประจ า
ปฏิบัติบางครั้ง และไม่เคยปฏิบัติ มีความหมาย ดังนี้
(1) การปฏิบัติตัวในด้านการพัฒนากาย/สังคม/จิต และปัญญา ที่มีประโยชน์และ
เหมาะสม ประกอบด้วย
1.1 การฝึกปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสม
(กายภาวนา)
1.2 การฝึกปฏิบัติตัวในการออกก าลังกายที่เหมาะสม (กายภาวนา)
1.3 กาฝึกปฏิบัติตัวในด้านพัฒนาสังคม (ศีลภาวนา)
1.4 การปฏิบัติตัวในด้านการพัฒนาจิต (จิตภาวนา)
1.5 การปฏิบัติตัวในด้านการพัฒนาปัญญา (ปัญญาภาวนา)
(2) การฝึกปฏิบัติตัวเพื่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม ให้
เลือกตอบเพียงค าตอบเดียวที่ตรงกับการปฏิบัติของตนเองมากที่สุด และมีค่าการให้คะแนน ดังนี้
ข้อค าถามเชิงบวก ข้อค าถามเชิงลบ
ปฏิบัติเป็นประจ า 2 คะแนน 0 คะแนน
ปฏิบัติบางครั้ง 1 คะแนน 1 คะแนน
ไม่เคยปฏิบัติ 0 คะแนน 2 คะแนน
เกณฑ์การแปลผลค่าคะแนนในการฝึกปฏิบัติเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุด้วย
4
หลักพุทธธรรม การแปลผลจัดกลุ่มระดับคะแนนการปฏิบัติ ใช้แบบอิงเกณฑ์ของ Bloom ดังนี้
การปฏิบัติตัวถูกต้องระดับดี คะแนนร้อยละ 80-100
3 Bloom, B.S.,Toxonomy of Education Objective : Handbook 1: Conitive domain,New
York : Devid MCI.1968.
4 Ibid, Bloom, B.S.,Toxonomy of Education Objective.1968.