Page 74 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 74
60
เกณฑ์กำรพิจำรณำในกำรคัดออกจำกโครงกำรวิจัย (Exclusion Criteria) ต้องขาด
คุณสมบัติ ดังนี้
1) ตัวแทนที่เข้าร่วมโครงการวิจัย ไม่ยินดีที่จะเข้าร่วมโครงการวิจัยต่อไป
2) ย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยในขณะเข้าร่วมโครงการวิจัย
3.3 เครื่องมือกำรวิจัย
3.3.1 กำรสร้ำงเครื่องมือกำรวิจัย
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคน
ธาราม ต าบลเทพมงคล อ าเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัยเชิงทดลองในมนุษย์
(Action Research) โดยใช้กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Appreciation Influence Control
1
: AIC) คณะผู้วิจัยได้ประยุกต์โดยน าเครื่องมือของ วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์ ได้ผ่านการตรวจสอบความ
ตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ความเชื่อมั่น ได้ 0.74 การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha
Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.81 น ามาคัดเลือกประเด็นค าถามที่ตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย
2
บูรณาการกับแบบสอบถามของขวัญดาว กล่ ารัตน์ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบความเชื่อมั่น ได้ 0.84 การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ได้
ค่าความเชื่อมั่นเฉลี่ย 0.92 น ามาผนวกกับการทบทวนวรรณกรรมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตาม
กรอบแนวคิดของการวิจัย สร้างเป็นแบบสัมภาษณ์กลุ่มผู้สูงอายุ มีจ านวน 5 ชุด ท าการสัมภาษณ์โดย
ผู้วิจัย และผู้ช่วยวิจัย อาสาสมัครสาธารณะสุขที่ผ่านการอบรมแล้ว ประกอบด้วย
ชุดที่ 1 มีทั้งหมด 4 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความรู้ในการพัฒนารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม แบบประเมินการฝึกปฏิบัติตัวในการพัฒนารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม และค าถามปลายเปิด
ชุดที่ 2 กับชุดที่ 3 เป็นแนวทางการสนทนากลุ่ม (Group Discussion Guideline)
ส าหรับผู้สูงอายุก่อน และหลังการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
ชุดที่ 4 กับชุดที่ 5 เป็นแนวทางการสนทนากลุ่ม (Group Discussion Guideline)
ส าหรับตัวแทนผู้น าชุ มชนและตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบการ
ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม
เกณฑ์การให้คะแนนและการแปลผล แบ่งตามวิธีการวัด ดังนี้
1) การวัดระดับความรู้ในการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลัก
พุทธธรรม เป็นชุดค าถามแบบเลือกตอบมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ข้อค าถามเชิงบวก ข้อค าถามเชิงลบ
1 วชิราวุธ ผลบุญภิรมย์, “การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ : บ้านเก่างิ้ว ต าบล
เก่างิ้ว อ าเภอพล จังหวัดขอนแก่น”,ปริญญำสำธำรณสุขศำสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสาธารณสุข
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2555.
2 ขวัญดาว กล่ ารัตน์, “ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตภูมิภาคตะวันตกของ
ประเทศไทย”, วิทยำนิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554