Page 70 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 70

56



                                 2. ระยะด ำเนินกำร มีรายละเอียด ดังนี้

                                 ในสัปดาห์ที่ 4- 5 คณะผู้วิจัยด าเนินการจัดประชุมก าหนดกิจกรรมโดยกระบวนการมีส่วน

                       ร่วม AIC ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา ซึ่งผู้วิจัยได้น ากระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม AIC
                       เพื่อสะท้อนข้อมูลสภาพปัจจุบันของผู้สูงอายุ บริบทของชุมชน สภาพปัญหา และร่วมแสวงหาแนว
                       ทางแก้ไข เพื่อจะได้ก าหนดกิจกรรมฝึกปฏิบัติให้ครอบคลุมทั้ง 4 มิติ คือ กาย สังคม ใจ และปัญญา

                       ร่วมกันพัฒนารูปแบบในการพัฒนาดูแลสุขภาพ ให้ตรงกับความต้องการของผู้สูงอายุและสอดคล้อง
                       กับสภาพของชุมชน จัดท า(ร่าง)รูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม น าเสนอในที่
                       ประชุมของภาคีเครือข่ายและกลุ่มตัวอย่างร่วมกันพิจารณา ในประเด็นความสอดคล้องของบริบท
                       ชุมชน ความน่าจะเป็น และความคาดหวังด้านสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ

                                 คณะผู้วิจัยด าเนินการแบ่งกลุ่มสนทนาออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

                                 1)  กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ด าเนินรายการได้น าเสนอเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

                                     (1)  ปัญหาของผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
                                     (2)  ปัญหาที่ท่านคิดว่าส าคัญที่สุดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
                                     (3)  ปัญหาผู้สูงอายุส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุใด

                                     (4)  มีหน่วยงานใดเข้ามาให้ความช่วยเหลือบ้าง
                                     (5)  ผู้สูงอายุในหมู่บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในชุมชนอย่างไรบ้าง
                                      (6)  ปัญหาที่ผู้สูงอายุไม่สามารถแก้ไขด้วยตนเอง ท่านจะมีวิธีแก้ไขได้อย่างไรบ้าง
                                      (7)  ท่านต้องการให้หน่วยงานใดเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องใดบ้าง
                                      (8)  ท่านคิดว่าถ้าผู้สูงวัยดูแลสุขภาพตนเองตามหลักพุทธธรรม ด้วยการพัฒนากาย

                       (กายภาวนา) การพัฒนาด้านสังคม(ศีลภาวนา) การพัฒนาจิต(จิตภาวนา) และการพัฒนาองค์ความรู้
                       (ปัญญาภาวนา) โดยบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าต าบล ท่าน
                       คิดว่าจะเกิดประโยชน์ และท่านจะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมนี้ได้หรือไม่อย่างไร


                                 2)  กลุ่มตัวแทนผู้น าชุมชน หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 ต าบลเทพมงคล
                                 3)  กลุ่มตัวแทนข้าราชการด้านสาธารณสุขและอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่ที่ 2

                       และหมู่ที่ 3 ต าบลเทพมงคล
                                 คณะผู้วิจัยได้น าเสนอการประชุมกลุ่มการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
                                     (1)  ท่านคิดอย่างไรกับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุในหมู่บ้าน
                                     (2)  ท่านมีแนวทางอย่างไรที่จะส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง

                       ให้ดีขึ้น
                                     (3)  ท่านคิดว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่สามารถที่จะช่วยเหลือตนเองได้และผู้อื่นได้อย่างไร
                       บุคลากรของโรงพยาบาล/อาสาสมัครสาธารณะสุข จะเข้ามาช่วยเหลือได้อย่างไร
                                     (4)  ท่านคิดว่า บุคลากรของโรงพยาบาล/อาสาสมัครสาธารณะสุข จะเข้ามามีส่วน

                       ร่วมในการส่งเสริมผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองด้วยหลักพุทธธรรมได้อย่างไร
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75