Page 16 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 16
ชื่อสกุล จะแสดงเฉพาะสกุลที่มีการบรรยายสกุลนั้น ๆ โดยมีชื่อ พันธุ์พืช เพิ่มเติม บางครั้งไม่ระบุลักษณะที่พบส่วนใหญ่ในพืชหลายกลุ่ม
ผู้ตั้งชื่อสกุล (authors) ต่อท้าย ส่วนค�าบรรยายประกอบด้วยลักษณะ เช่น ล�าต้นและใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบแบบขนนก หรือแบบเส้นขนาน
ทางพฤกษศาสตร์ของสกุล ระบบการจัดจ�าแนกในปัจจุบัน จ�านวน ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว การแยกหรือการเชื่อมติดของกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอก
ชนิดทั้งหมดในสกุล เขตการกระจายพันธุ์ จ�านวนชนิดที่พบใน ต�าแหน่งและรูปร่างรังไข่ที่ส่วนใหญ่ติดแบบเหนือรังไข่และขนาดเล็ก
ประเทศไทย ซึ่งอ้างอิงจากหนังสือพรรณพฤกษชาติต่าง ๆ และเอกสาร หรือลักษณะผลของพืชบางกลุ่มที่ไม่ใช่ลักษณะส�าคัญในการจ�าแนก
อ้างอิงแนบท้าย ส่วนที่มาของชื่อสกุล (etymology) ส่วนมากอ้างอิง ส่วนไม้ต่างถิ่น ที่มีข้อมูลอ้างอิงน้อย การบรรยายลักษณะทาง
จาก Quattrocchi (2000) หรือที่ระบุไว้ในการตีพิมพ์ชื่อสกุลหรือชนิดใหม่ พฤกษศาสตร์อาจสั้น แต่ครอบคลุมลักษณะที่ส�าคัญทั้งของวงศ์หรือสกุล
นั้น ๆ พืชที่มีการบรรยายสกุลจะมีจ�านวนชนิดมากกว่า 1 ชนิด และถ้า โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ส�าคัญคือ Staples & Herbst (2005), Flora of
ชนิดที่มีชื่อไม่เรียงต่อจากชื่อสกุล จะระบุให้ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่สกุลนั้น ๆ North America Editorial Committee (1993 onwards) และ
ต่อท้ายค�าบรรยาย ดังนั้น การบรรยายชนิดดังกล่าวส่วนมากจะไม่ Lewis et al. (2005) ส�าหรับพืชวงศ์ Fabaceae ค�าศัพท์พฤกษศาสตร์
บรรยายลักษณะสกุลซ�้า เช่น การเรียงตัวของใบ ลักษณะช่อดอก ของพืช ส่วนมากอ้างอิงตามราชบัณฑิตยสถาน ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
จ�านวนส่วนต่าง ๆ ของดอก ลักษณะรังไข่ ผล และเมล็ด เป็นต้น ซึ่ง พ.ศ. 2546 (พิมพ์ครั้งที่ 2) การเรียงล�าดับลักษณะของส่วนต่าง ๆ ใช้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของชนิดจึงควรดูค�าบรรยายสกุลประกอบ เกณฑ์การบรรยายจากด้านนอกเข้าสู่ด้านใน เช่น จากปลายใบจนถึง
ชื่อพฤกษศาสตร์ เป็นชื่อที่ได้รับการยอมรับ โดยมีเอกสารอ้างอิง ก้านใบ จากกลีบเลี้ยงจนถึงรังไข่ เป็นต้น โดยกล่าวถึงลักษณะวิสัย
และแหล่งข้อมูลรายชื่อพืชต่าง ๆ ประกอบในการตรวจสอบ ได้แก่ ก่อนในค�าบรรยายแต่ละสกุลหรือชนิด ลักษณะที่ส�าคัญหรือลักษณะ
The International Plant Names Index หรือ IPNI (2012), The ที่ใช้จ�าแนกชนิดจะเป็นตัวเข้ม ส่วนลักษณะที่พิเศษหรือลักษณะเด่น
Plant List (2013), Catalogue of Life (Hassler, 2016) และ ที่พบในพืชบางกลุ่ม อาจมีค�าศัพท์ภาษาอังกฤษก�ากับ เพื่อให้ผู้อ่าน
Tropicos (2016) เป็นต้น ซึ่งอาจมีบางชื่อที่แหล่งอ้างอิงต่าง ๆ ดังกล่าว เข้าใจที่มาของรากศัพท์และความหมายที่ถูกต้อง
ไม่ตรงกัน ผู้เรียบเรียงจะอ้างชื่อที่น่าจะถูกต้องและทันสมัยมากที่สุด ลักษณะวิสัย (habit) รูปร่างลักษณะของพืชเป็นไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม
โดยมีค�าอธิบายเหตุผลประกอบ อย่างไรก็ตาม ระบบการจัดจ�าแนกมี ไม้เถา ไม้ต้น หรือลักษณะอื่น ๆ เช่น ราก เหง้า หัวใต้ดิน ไหล เปลือก
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งผู้อ่านสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้เอง ล�าต้นเทียม มือจับ หนาม หรือน�้ายาง พืชล้มลุกไม่ได้แยกเป็นอายุปีเดียว
เพื่อได้ชื่ิอที่มีการปรับปรุง ณ ปัจจุบัน และถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือหลายปี ยกเว้นหญ้า หรืออาจระบุถิ่นที่อยู่ของพืชร่วมด้วย เช่น
ชื่อวงศ์ เป็นชื่อได้รับการยอมรับล่าสุดของพืชชนิดหรือสกุลนั้น ๆ พืชอิงอาศัย ขึ้นบนดินหรือหิน พืชน�้า พืชทนน�้าท่วม หรืออาจระบุเป็น
ตามระบบจัดจ�าแนกของ Angiosperm Phylogeny Group III หรือ ไม้ผลัดใบในไม้ต้นบางชนิด ตามด้วยขนาดและความสูง ส�าหรับพืชที่
APG III (Stevens, 2001 onwards) ส่วนรายละเอียดด้านจัดจ�าแนก ดอกไม่สมบูรณ์เพศ ตามด้วยดอกแยกเพศต่างต้น (dioecious) หรือ
ของกลุ่มพืช ส่วนมากจะปรากฏในค�าบรรยายสกุลหรือในส่วนที่กล่าว ดอกแยกเพศร่วมต้น (monoecious) หรือลักษณะแบบอื่น ๆ และ
ถึงสกุลของท้ายชนิดที่ไม่มีค�าบรรยายสกุล ก่อนที่จะบรรยายส่วนต่าง ๆ บางตอนอาจกล่าวถึงสิ่งปกคลุมหรือ
ลักษณะขนตามส่วนต่าง ๆ ของพืชในภาพรวม
ชื่อพ้อง ส่วนมากจะระบุชื่อพ้องที่เป็นชื่อดั้งเดิม (basionym)
เพื่อให้ทราบความเปลี่ยนแปลงด้านการจัดจ�าแนกของพืชชนิดนั้น ๆ หูใบ (stipules) โดยมากแยกเป็นหูใบเดี่ยว หรือหูใบร่วม ลักษณะ
พอสังเขป ว่าเคยถูกจัดจ�าแนกอยู่สกุลใดมาก่อน และอาจมีชื่อพ้องที่ ของหูใบหรือขนาด การติดทนหรือร่วงเร็ว หรือไม่มีหูใบ
เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง และชื่อมีการจัดจ�าแนกใหม่ในช่วงเวลา ใบ (leaves) พืชส่วนมากจะเป็นใบเดี่ยว (simple) จึงไม่ได้ระบุไว้
ไม่นานมากนัก โดยเฉพาะที่ตีพิมพ์ในหนังสือพรรณพฤกษชาติของ จะระบุเมื่อพืชมีใบเป็นใบประกอบ หรือรูปแบบอื่น ๆ ดังนั้น รูปร่าง
ประเทศไทย หรือเป็นชื่อที่ปรากฏในเอกสารอ้างอิงประกอบในการ และขนาดของใบที่แสดงจึงเป็นลักษณะของใบเดี่ยวหรือใบย่อย โดย
เขียนค�าบรรยาย เรียงการติด รูปร่าง ขนาด ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ แผ่นใบ เส้นแขนงใบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ส่วนมากอ้างอิงจากพรรณพฤกษชาติ เส้นโคนใบ หรือเส้นใบย่อย และความยาวก้านใบ ในการบรรยายขนาด
ของประเทศไทย (Larsen, 1996; Santisuk & Balslev, 2014-2015; ของใบส่วนมากจะกล่าวถึงเฉพาะความยาว โดยให้ดูรูปร่างประกอบ
Santisuk & Larsen, 1997-2013; Smitinand & Larsen, 1970-1993) เพื่อให้ทราบความกว้างของใบพอสังเขปจากตารางค�าศัพท์รูปร่างและ
และ Flora of China (Wu & Raven, 1994-2001; Wu et al., สัดส่วนความยาว/ความกว้าง ของส่วนต่าง ๆ ของพืช ซึ่งสามารถใช้
2001-2013) ซึ่งสามารถสืบค้นได้ที่ http://flora.huh.harvard.edu/ กับส่วนอื่น ๆ ของพืชได้เช่นเดียวกัน รูปร่างบางลักษณะไม่จ�าเป็นต้อง
china/ เป็นหลัก แต่มีการเพิ่มเติมลักษณะที่ส�าคัญบ้างตามเอกสาร ดูสัดส่วนดังกล่าว เช่น รูปลิ่มแคบ และรูปเส้นด้าย เป็นต้น อนึ่ง ปลายใบ
อ้างอิงอื่น ๆ ที่แสดงท้ายค�าบรรยาย ตลอดจนตรวจสอบและศึกษา โคนใบ และจ�านวนเส้นแขนงใบ อาจไม่ปรากฏในค�าบรรยายเนื่องจาก
ตัวอย่างพรรณไม้ในหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ ไม่ใช่ลักษณะส�าคัญที่ใช้จ�าแนกชนิด
59-02-089_(001)-(020)_Ency_new1-3_J-Coated.indd 16 3/1/16 4:44 PM