Page 17 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 17
ตารางค�าศัพท์รูปร่างและสัดส่วนความยาว/ความกว้าง ผล (fruit) ชนิด รูปร่าง และขนาดของผล ส่วนมากมีความส�าคัญ
(ปรับปรุงจาก Radanachaless & Maxwell, 1994) ในการจ�าแนก แต่ในพืชบางกลุ่มไม่ได้กล่าวถึง เนื่องจากมีความส�าคัญ
ความยาว/ ปลายกว้าง กลางกว้าง โคนกว้าง ในการจ�าแนกชนิดน้อยมาก เช่น กล้วยไม้ ที่ส่วนมากเป็นผลแห้งแตก
ความกว้าง (capsule) นอกจากนี้ ผลแบบพิเศษต่าง ๆ เช่น ผลแบบมะเดื่อในพืช
ประมาณ 1 - รูปกลม - วงศ์ไทร ที่ผลย่อยอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายใหญ่ และอวบน�้า เรียกว่า
1-2 รูปไข่กลับ รูปรี รูปไข่ fig หรือ synconium ที่ใช้ทับศัพท์ใต้ค�าบรรยายภาพ ส่วนเมล็ดที่มักมี
จ�านวนเท่าออวุล อาจบรรยายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่างใน
2-3 รูปขอบขนาน รูปขอบขนาน รูปขอบขนาน
แกมรูปไข่กลับ แกมรูปไข่ ชนิดที่จ�านวนไม่เท่ากัน เและเมล็ดจะบรรยายเฉพาะในพืชบางกลุ่มที่
3-5 รูปใบหอกแกม รูปใบหอก รูปใบหอกแกม รูปร่าง ขนาด หรือสิ่งปกคลุมมีความส�าคัญในการใช้จ�าแนก
รูปไข่กลับ รูปไข่ ส�าหรับพืชกลุ่มเฟินมีการบรรยายแตกต่างจากพืชทั่วไปเล็กน้อย
5-10 หรือ - รูปแถบ - โดยระบุลักษณะวิสัยที่ขึ้นบนดิน บนหิน หรืออิงอาศัย ลักษณะเหง้า
มากกว่า และเกล็ดที่ปกคลุม ใบที่มักจะแยกเป็นใบไม่สร้างสปอร์ และใบสร้าง
ช่อดอก (inflorescences) ช่อดอกของพืชส่วนมากจะมีจ�านวน สปอร์ ลักษณะการแตกแขนงของเส้นใบ รูปร่างกลุ่มอับสปอร์ การติด
ดอกหลายดอก พบน้อยที่ลดรูปเหลือดอกเดียว พืชบางชนิดอาจระบุ เยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์ และอับสปอร์ ค�าศัพท์และข้อมูลเฟินส่วนมาก
จ�านวนดอกในแต่ละช่อที่เป็นลักษณะใช้แยกชนิดในพืชกลุ่มนั้น ๆ ส่วน อ้างอิงจาก Lindsay & Middleton (2012 onwards)
การเรียงตัวแบ่งเป็นออกตามซอกใบ ปลายกิ่ง หรือตามล�าต้น การวัด การกระจายพันธุ์และนิเวศวิทยา
ขนาดส่วนมากจะกล่าวถึงความยาวของช่อดอก ช่อแยกแขนง หรือ การกระจายพันธุ์ของพืชในที่นี้แบ่งออกเป็นของสกุลและชนิด ซึ่ง
แยกเป็นแกนช่อ ก้านช่อ ใบประดับหรือใบประดับย่อย
ของสกุลส่วนมากระบุในภาพรวม เช่น เขตร้อน กึ่งเขตร้อน เขตอบอุ่น
ดอก (flowers) ค�าบรรยายแยกเป็นก้านดอก ฐานดอก ริ้วประดับ หรือชื่อทวีปต่าง ๆ ส่วนของชนิดจะระบุเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะ
กลีบเลี้ยง กลีบดอก หรือกลีบรวม และจานฐานดอก โดยระบุการเรียง มากยิ่งขึ้น ส่วนใหญ่เป็นชื่อเขตภูมิศาสตร์พืชพรรณ หรือชื่อประเทศ
รูปร่าง จ�านวน ขนาด สี และสิ่งปกคลุม ในกรณีดอกมีเพศเดียวจะ ซึ่งเรียงล�าดับจากทวีปอเมริกา แอฟริกา มาดากัสการ์ ทวีปยุโรป เอเชีย
บรรยายดอกเพศผู้ก่อนดอกเพศเมีย ส�าหรับรูปร่างและสีของดอก ใน ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก การกระจายพันธุ์ในเอเชียเรียงล�าดับ
ที่นี้ส่วนมากหมายถึงของวงกลีบดอก (corolla) ในกรณีที่ไม่มีกลีบดอก จากเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนการ
อาจหมายถึงของวงกลีบเลี้ยง (calyx) หรือวงกลีบรวม (perianth) ใน กระจายพันธุ์ในประเทศไทยแบ่งตามภาคภูมิศาสตร์พืชพรรณ (floristic
พืชบางชนิดอาจกล่าวถึงรูปร่างหรือสีของกลีบเลี้ยงและกลีบดอกแยกกัน regions) ตามหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย และชื่อพรรณไม้
วงเกสรเพศผู้ (androecium) ส่วนมากจะระบุรูปแบบและการ แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557 ตาม
ติดของก้านชูอับเรณูหรืออับเรณูในพืชบางกลุ่ม ความยาวก้านชูอับเรณู ด้วยชื่อสถานที่หรือจังหวัด และถิ่นที่อยู่หรือนิเวศวิทยาที่พบ ส่วนมาก
ส่วนอับเรณูมักบรรยายรูปร่าง แกนอับเรณู การแตก รูเปิด หรือจ�านวน ระบุเป็นป่าประเภทต่าง ๆ อ้างอิงตามหนังสือป่าของประเทศไทย (ธวัชชัย
ช่องอับเรณู ในพืชบางกลุ่มที่ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร สันติสุข, 2550) และความสูง ในที่นี้หมายถึงความสูงเหนือจากระดับ
(column) มีก้านชูเกสรเพศผู้ (androphore) หรืิอมีก้านชูเกสรร่วม น�้าทะเลปานกลาง (altitude) นอกจากชื่อประเทศ ชื่อสถานที่ ชื่อเกาะ
(androgynophore) ส�าหรับในพืชเมล็ดเปลือยใช้ใบสร้างอับไมโครสปอร์ และหมู่เกาะ ยังมีชื่อแบบอื่น ๆ และชื่อเขตภูมิศาสตร์พืชพรรณที่แสดง
(microsporophyll) ขอบเขตการกระจายพันธุ์ ได้แก่
วงเกสรเพศเมีย (gynoecium) ส่วนใหญ่พืชจะมีรังไข่เหนือวงกลีบ จีนตอนใต้ (South China) หมายถึง มณฑลยูนนานและใกล้เคียง
ซึ่งจะไม่กล่าวถึงในค�าบรรยาย จะระบุกลุ่มพืชที่รังไข่ใต้วงกลีบหรือ ของประเทศจีน ซึ่งรวมถึงทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนไห่หนาน และ
กึ่งใต้วงกลีบ จ�านวนช่องรังไข่ พืชบางกลุ่มใช้คาร์เพล โดยเฉพาะที่เป็น ไต้หวันได้เขียนแยกต่างหาก
ผลกลุ่ม มีหนึ่งหรือหลายคาร์เพล คาร์เพลเชื่อมหรือแยกกัน ชนิดของ เอเชียใต้ (South Asia) หมายถึง อินเดีย รวมหมู่เกาะอันดามัน
พลาเซนตาที่อาจกล่าวถึงในการบรรยายสกุล จ�านวนหรือการติดของ และนิโคบาร์ อัฟกานิสถาน ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา เนปาล
ออวุล ส่วนเกสรเพศเมียแยกเป็นก้านเกสรและยอดเกสร การเชื่อมติดกัน และภูฏาน
และรูปร่างยอดเกสร พืชบางกลุ่มมีการบรรยายก้านชูวงเกสรเพศเมีย เอเชียตะวันออก (East Asia) หมายถึง จีนทางตะวันออก รวมไต้หวัน
(gynophore) หรือ ฐานก้านยอดเกสรเพศเมีย (stylopodium) เกาหลี และญี่ปุ่น แต่ไม่รวมมองโกเลีย
ส�าหรับวงเกสรเพศเมียในพืชเมล็ดเปลือยใช้ใบสร้างอับเมกะสปอร์
(megasporophyll) ภูมิภาคอินโดจีน (Indochina) หมายถึง ลาว กัมพูชา และเวียดนาม
59-02-089_(001)-(020)_Ency_new1-3_J-Coated.indd 17 3/1/16 4:44 PM