Page 18 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 18

ภูมิภาคมาเลเซีย (Malesia) หมายถึง คาบสมุทรมลายู และหมู่เกาะ  เอกสารอ้างอิง
                ต่าง ๆ ที่อยู่ระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่กับออสเตรเลีย   การอ้างอิงตามเอกสารแนบท้าย ส่วนมากเป็นการอ้างอิงด้านชื่อ
                ในที่นี้ฟิลิปปินส์ และนิวกินีได้ระบุแยกต่างหาก       พฤกษศาสตร์ การบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และเขตการ

                    เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) หมายถึงพม่า ไทย   กระจายพันธุ์ ส่วนข้อมูลด้านอื่น ๆ เช่น ระบบการจัดจ�าแนก หรือการ
                ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์   ใช้ประโยชน์ จะอ้างอิงตามบรรณานุกรมที่ปรากฏในท้ายบทน�า บางชนิด
                นิวกินี และติมอร์-เลสเต                              ควรดูเอกสารอ้างอิงของสกุลประกอบ โดยเฉพาะที่เปลี่ยนสกุลใหม่

                    ปาปัวเซีย (Papuasia) หมายถึงปาปัวนิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน   ส�าหรับรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงส่วนมากเป็นแบบสั้น และการ
                และหมู่เกาะ Aru ของอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเขตภูมิศาสตร์ย่อยภายใต้  อ้างอิงเวบไซต์ไม่ได้ระบุวันที่สืบค้น เนื่องจากมีการสืบค้นหลายครั้งใน
                เขตภูมิศาสตร์เมลานีเซีย                              ช่วงเวลาที่เรียบเรียงและตรวจสอบข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม-
                                                                     ธันวาคม พ.ศ. 2558 ส่วนรูปแบบบรรณานุกรมท้ายบทส่วนมากเขียน
                    หมู่เกาะแปซิฟิก (Pacific Islands) หมายถึง หมู่เกาะต่าง ๆ ทาง  ตามที่แหล่งอ้างอิงนั้น ๆ ระบุ จึงไม่เป็นรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง อนึ่ง
                ตอนเหนือของออสเตรเลีย ได้แก่ ไมโครนีเซีย เมลานีเซีย (แต่ไม่รวม  ชื่อผู้แต่ง George Staples เขียนเป็น Staples, G. ยกเว้นส�าหรับ
                นิวกินี) และโพลินีเซีย
                                                                     หนังสือ A tropical garden flora ที่ใช้ Staples, G.W. นอกจากเอกสาร
                    อย่างไรก็ตาม เขตการกระจายพันธุ์อาจไม่ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด  อ้างอิงที่ระบุแนบท้ายในพืชแต่ละสกุลหรือชนิด ผู้อ่านสามารถค้นคว้า
                ของพืชชนิดนั้น ๆ โดยเฉพาะการกระจายพันธุ์ในประเทศไทย เนื่องจาก  และศึกษาข้อมูลเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติมได้จากหนังสือ A bibliography
                มีตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิงส่วนหนึ่งกระจายอยู่ตามหอพรรณไม้อื่น ๆ   of taxonomic revisions for vascular plants in Thailand
                ทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งหอพรรณไม้ของกรมอุทยานแห่งชาติ   (Mauric et al., 2011) หรือสืบค้นได้ที่ http://www.dnp.go.th/
                สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ที่ยังไม่มีการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญในพืชกลุ่มนั้น ๆ   botany/Bibliography/Default.htm
                โดยเฉพาะตัวอย่างพรรณไม้อ้างอิงใหม่ ๆ
                                                                        ค�าบรรยายภาพ
                    การใช้ประโยชน์
                                                                        ค�าบรรยายใต้ภาพเกือบทั้งหมดเป็นการน�าค�าบรรยายลักษณะ
                    การใช้ประโยชน์พืชที่กล่าวถึงเกือบทั้งหมดอ้างตาม Quattrocchi   พฤกษศาสตร์บางส่วนทั้งของชนิดหรือของสกุล บางชนิดที่ไม่มีค�า

                (2012) ที่ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์ด้านสมุนไพรการแพทย์แผน  บรรยายอาจระบุลักษณะที่เห็นได้ชัดเจนในภาพประกอบ ตามด้วย
                โบราณ “Ayurveda” ของอินเดียที่มีมายาวนานกว่า 3000 ปี หรืิอ   สถานที่ถ่ายภาพ และชื่อผู้ถ่ายภาพเป็นอักษรย่อภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม
                “Siddha” ที่มีต้นก�าเนิดทางภาคใต้ของอินเดีย และ “Unani” ที่มี  ของผู้ถ่ายภาพระบุไว้ท้ายหนังสือ ชื่อไทยที่ซ�้ากันใต้ภาพจะมีชื่อ
                ต้นก�าเนิดในเอเชียกลาง ตลอดจนสรรพคุณทั่ว ๆ ไป มีทั้งสรรพคุณ  วิทยาศาสตร์แบบย่อก�ากับไว้ในกรณีที่เป็นข้อมูลชุดเดียวกัน
                เชิงเดี่ยวและเชิงต�ารับ สรรพคุณต่อสัตว์เลี้ยง และบางตอนระบุถึง
                ความเป็นพิษ ซึ่งรายพืชสมุนไพรเหล่านี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ก�ากับชัดเจน   บรรณานุกรม
                แม้ว่าบางชื่ออาจกลายเป็นชื่อพ้อง และมีเอกสารอ้างอิง ส่วนประโยชน์  ธวัชชัย สันติสุข. (2550). ป่าของประเทศไทย. สำานักงานหอพรรณไม้ สำานักวิจัย
                ด้านสมุนไพรไทยได้กล่าวถึงเฉพาะที่อ้างอิงในหนังสือพรรณพฤกษชาติ  การอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช.
                                                                          กรุงเทพฯ.
                ของประเทศไทยหรือตามเอกสารอ้างอิงท้ายค�าบรรยาย ซึ่งผู้อ่าน  ราชันย์ ภู่มา และสมราน สุดดี. (บรรณาธิการ). (2557). ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย

                สามารถสืบค้นได้จากหนังสือด้านสมุนไพรไทยต่าง ๆ ที่มีจ�านวนมาก   เต็ม สมิตินันท์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557. สำานักงานหอพรรณไม้ สำานักวิจัย
                                                                          การอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ.
                โดยเฉพาะต�าราแพทย์แผนไทย ซึ่งควรเปรียบเทียบชื่อไทยกับชื่อ  ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศัพท์พฤกษศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้งที่
                                                                          2 แก้ไขเพิ่มเติม. ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ
                วิทยาศาสตร์ให้ถูกต้อง เนื่องจากมีต�าราแพทย์แผนไทยเพียงบางส่วน  Flora of North America Editorial Committee, eds. (1993 onwards). Flora of
                                                                          North America North of Mexico. 19+ vols. New York and Oxford. http://
                ที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ก�ากับ                                www.efloras.org
                                                                       Hassler, M. (2016). World plants: Synonymic checklists of the vacular plants
                    นอกจากข้อมูลต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับการจัด  of the world. In: Species 2000 & ITIS Catawlogue of Life, 2015 Annual
                                                                          Checklist (Y. Roskov, L. Abucay, T. Orrell, D. Nicolson, T. Kunze, C. Flann,
                จ�าแนกของชนิดหรือสกุลนั้น ๆ ปรากฏข้างท้ายต่อจากค�าบรรยาย แต่  N. Baill, P. Kirk, T. Bourgoin, R.E. DeWalt, W. Decock, A. de Wever, eds).
                ไม่มีรายละเอียดลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของสกุลเหมือนสกุลที่มีค�า  Digital resource at www.catalogueoflife.org/col. Species 2000: Naturalis,
                                                                          Leiden, the Netherlands. ISSN 2405-8858.
                บรรยาย และค�าระบุชนิดอธิบายเฉพาะชื่อที่ตั้งเพื่อเทิดพระเกียรติฯ   Larsen, K., ed. (1996). Flora of Thailand Vol. 6(2). Diamond Printing, Bangkok.
                หรือตั้งตามชื่อนักพฤกษศาสตร์ของไทย ส่วนค�าระบุชนิดที่มาจาก  Lewis, G.P., B. Schrire, B. Mackinder and M. Lock, eds. (2005). Legumes of
                                                                          the World.  Royal Botanic Gardens, Kew. UK.
                ภาษาละตินที่มีความหมาย สามารถสืบค้นความหมายของค�าศัพท์ได้  Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                          Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                ในหนังสือ Botanical Latin (Stern, 1992)                Mauric, A., R. Pooma and N. Pattharahirantricin. (2011). A bibliography of
                                                                          taxonomic revisions for vascular plants in Thailand. The Forest Herbarium.
                                                                          Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation. Bangkok.









        59-02-089_(001)-(020)_Ency_new1-3_J-Coated.indd   18                                                              3/1/16   4:44 PM
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23