Page 23 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 23

กกสามเหลี่ยม                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กง
                    Actinoscirpus grossus (L. f.) Goetgh. & D. A. Simpson
                    วงศ์ Cyperaceae
                      ชื่อพ้อง Scirpus grossus L. f.
                       กกมีไหล ปลายไหลมีหัวขนาดเล็ก ล�าต้นและกาบคล้ายฟองน�้า มีสำมมุมแหลม
                    สูง 1-2 ม. โคนแผ่กว้ำง ใบออกจำกโคน รูปแถบ ยำว 0.5-1.7 ม. กาบใบเปิด ยำว
                    ได้ถึง 30 ซม. ไม่มีลิ้นกาบ วงใบประดับคล้ายใบ มี 3-4 อัน ยำวได้ถึง 50 ซม.
                    ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง กว้ำงยำว 6-15 ซม. ช่อแยกแขนงยำวได้ถึง 7 ซม.
                    ช่อแขนงย่อยรองยำว 1-4 ซม. มีขนสำก ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ รูปรี ยำว 0.5-1 ซม.
                    สีน�้ำตำลแดง กำบสีน�้ำตำล รูปไข่คล้ำยเรือ ยำว 2.5-3 มม. ปลำยมน ขอบมีขนครุย
                    แกนกลำงเป็นสัน ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบรวมคล้ายเส้นด้าย มี 5-6 อัน เกสรเพศผู้
                    3 อัน ก้ำนเกสรเพศเมียต่อเนื่องจำกรังไข่ ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรูปไข่กว้ำง
                    คล้ำยสำมเหลี่ยม ยำว 1-2 มม.                           กกอียิปต์: ช่อแยกแขนงจ�ำนวนมำก ยำวเท่ำ ๆ กัน สำยพันธุ์แคระสูงไม่เกิน 1 เมตร (ภำพ: cultivated - RP)
                       พบทั่วไปในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เกำะแปซิฟิก ขึ้นหนำแน่น  กง, สกุล
                    ตำมแหล่งน�้ำ ส่วนมำกพบในระดับควำมสูงต�่ำ ๆ เป็นที่อำศัยของหนอนกอแถบ
                    ลำยสีม่วง (dark-headed stem borer) ศัตรูที่ส�ำคัญของข้ำว เป็นกกขนำดใหญ่   Hanguana Blume
                    ล�ำต้นใช้ทอเสื่อและสำนตะกร้ำ ทำงภำคอีสำนเรียก ผือ หรือ กกปรือ น่ำจะมำจำก  วงศ์ Hanguanaceae
                    ชื่ออ�ำเภอบ้ำนผือ จังหวัดอุดรธำนี                      ไม้ล้มลุก มักแตกกอหรือมีไหลลอยน�้ำได้ แยกเพศต่างต้น เส้นแขนงใบเรียง
                                                                        ขนำนกัน มีเส้นแขนงใบย่อยตัดขวางจ�านวนมาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
                       สกุล Actinoscirpus (Ohwi) Haines & Lye อยู่ภายใต้เผ่า Scirpeae มีชนิดเดียว   ดอกไร้ก้าน กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบดอก
                       ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “actino” รัศมี และสกุล Scirpus
                                                                        มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย เกสรเพศเมียไร้ก้ำน ยอดเกสรแยกเป็น 3 พู
                      เอกสารอ้างอิง                                     ติดทน ผลคล้ำยผนังชั้นในแข็ง มี 1-3 เมล็ด
                       Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.
                          6(4): 274-275.                                   สกุล Hanguana เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Flagellariaceae เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มี
                                                                           มากกว่า 15 ชนิด พบที่ศรีลังกา ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 2 ชนิด
                                                                           และอาจมีชนิดใหม่เพิ่มหลายชนิด (pers. comm., L.S. Wijedasa & A. Matti)
                                                                           โดยเฉพาะตามพื้นที่ลาดชันในป่าดิบชื้นทางภาคใต้ ชื่อสกุลเป็นภาษาอินโดนีเซีย
                                                                           ที่เรียกกงชนิด H. kassintu Blume
                                                                        กง
                                                                        Hanguana malayana (Jack) Merr.
                                                                          ชื่อ พ้อง Veratrum malayanum Jack
                                                                           ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 3 ม. มีไหลลอยน�้าได้ ยำวได้ถึง 2.5 ม. ใบรูปใบหอก ส่วนมำก
                                                                        ยำว 20-200 ซม. แผ่นใบหนำ มีกำบหุ้มล�ำต้น ใบช่วงล่ำงก้ำนยำวกว่ำของใบช่วง
                                                                        ปลำยต้น ช่อดอกยำวได้ถึง 120 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก สีเหลือง
                                                                        อมเขียวหรือขาว ด้านในมีจุดสีแดง ดอกเพศผู้กลีบรวมวงนอกยำวประมำณ 1 มม.
                                                                        วงในยำวกว่ำเล็กน้อย เกสรเพศผู้ยำวประมำณ 3 มม. ดอกเพศเมียกลีบวงนอก
                      กกสามเหลี่ยม: กกขนำดใหญ่ โคนต้นแผ่กว้ำง ช่อดอกมักแยกแขนง ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ สีน�้ำตำลแดง (ภำพ:   ยำวประมำณ 2 มม. วงในยำวประมำณ 3 มม. ยอดเกสรเพศเมียแบน ติดทนที่
                    ศรีสะเกษ - PT)                                      ปลายผล ผลรูปรี เส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 มม. สุกสีแดงอมม่วง
                    กกอียิปต์                                               พบที่ศรีลังกำ เวียดนำม ภูมิภำคมำเลเซีย ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และภำคใต้
                    Cyperus papyrus L.                                  ของไทย ขึ้นในน�้ำตำมล�ำห้วย ป่ำพรุ และที่ชื้นแฉะ ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ
                    วงศ์ Cyperaceae                                     กง
                       กกมีเหง้ำ ล�ำต้นรูปสำมเหลี่ยม สูง 1-5 ม. ใบลดรูปเป็นกาบ วงใบประดับมี  Hanguana thailandica Wijedasa, Chamchumroon & P. C. Boyce
                    ได้ถึง 12 อัน ยาวไม่เท่ากัน อันยาว ยาว 5-10 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ หรือ  ไม้ล้มลุก ไม่มีไหล สูงได้ถึง 1 ม. ใบรูปหอก ยำวได้ถึง 90 ซม. แผ่นใบด้านล่าง
                    แยกแขนงกว้ำง เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 20-35 ซม. ช่อแยกแขนงจ�านวนมาก ยาว  มีเกล็ดบาง ๆ คล้ายขน ก้ำนใบยำวได้ถึง 60 ซม. ใบประดับช่วงล่างคล้ายใบ
                    เท่า ๆ กัน ยำว 10-30 ซม. ช่อแขนงย่อยรองยำวประมำณ 2 ซม. ช่อกระจุกไร้  โคนโอบล�ำต้น ช่อดอกยำวเท่ำ ๆ ใบ แยกแขนงแนวระนำบ แกนช่อมีเกล็ดคล้าย
                    ก้ำน ช่อเชิงลดรูปทรงกระบอก ยำว 1-3 ซม. ช่อย่อยรูปแถบ ยำว 0.6-1.2 ซม.   ขนหนาแน่น ดอกสีเขียวอมเหลือง ขนำดเล็ก ยอดเกสรเพศเมียสีด�า ติดเบี้ยว
                    แกนมีปีกแคบ ๆ กาบสีน�้าตาล มี 5-17 อัน รูปรีหรือรูปไข่ ยำว 2-2.5 มม. ปลำยมน   พูกว้ำง 0.5 มม. ยำว 1.5 มม. ไม่แนบติดวงเกสรเพศเมีย ช่อผลตั้งตรง ผลรูปกลม
                    แกนกลำงเป็นสันสีเขียว เกสรเพศผู้ 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรูปไข่แกม  เส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 5 มม. สุกสีด�า
                    สำมเหลี่ยม ยำวประมำณ 1 มม. ผิวเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กกรังกำ, สกุล)
                       มีถิ่นก�ำเนิดในประเทศเแถบแอฟริกำตะวันออก เป็นไม้น�้ำประดับทั่วไปในเขต  พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ทุ่งค่ำย จังหวัดตรัง ขึ้นใต้ร่มเงำในป่ำดิบชื้นระดับต�่ำ ๆ
                    ร้อน โดยเฉพำะสำยพันธุ์แคระ C. papyrus ‘Nanus’ ซึ่งส่วนมำกสูงไม่เกิน 1 เมตร   ที่มีน�้ำขัง หรือป่ำพรุน�้ำจืด
                    ชำวอียิปต์ในสมัยโบรำณน�ำมำท�ำเป็นกระดำษเรียกว่ำ papyrus paper  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Larsen, K. (1972). Hanguanaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 164-166.
                      เอกสารอ้างอิง                                        Wijedasa, L.S., A. Matti, V. Chamchumroom, P. Puudjaa, T. Jumruschay and
                       Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.   P.C. Boyce. (in press). Hanguana thailandica (Hanguanaceae): a new forest
                          6(4): 348-349.                                      species from Thailand. Phytotaxa.

                                                                                                                       3






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   3                                                                   3/1/16   5:19 PM
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28