Page 21 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 21

สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                                                                                                            กกเขาสก

                    กกกระบอก, สกุล                                         มีถิ่นก�ำเนิดในอเมริกำกลำงและอเมริกำใต้ เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน
                    Carex L.                                            แยกเป็นชนิดย่อย subsp. ciliata T. Koyama ล�ำต้นเป็นกระจุก ใบประดับมี
                    วงศ์ Cyperaceae                                     ปื้นสีขำวน้อยกว่ำหนึ่งในสี่ของควำมยำวใบประดับ
                       กกล้มลุก ล�ำต้นรูปสำมเหลี่ยมตำมขวำง ใบเรียงสำมด้ำน ออกที่โคนหรือตำมล�ำต้น   สกุล Rhynchospora Vahl มีมากกว่า 250 ชนิด พบทั้งในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
                    กาบหุ้มล�าต้นแห้งเป็นเส้นใย ไม่มีลิ้นกาบ วงใบประดับคล้ายใบหรือเป็นเส้น   โดยเฉพาะในอเมริกา ในไทยเป็นพืชพื้นเมือง 9 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                    ช่อดอกแยกแขนงแบบช่อกระจะ หรือช่อเชิงลด บำงครั้งลดรูปมีช่อเดียว กาบช่อดอก  “rhynchos” จะงอย และ “sporos” เมล็ด ตามลักษณะของเมล็ดที่มีโคนเกสรเพศเมีย
                    เรียงเวียน แต่ละกาบมีดอกเดียว ดอกมีเพศเดียว เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมีย  ติดทน คล้ายเป็นจะงอย
                    มีใบประดับย่อยคล้ายรูปคนโทหุ้มยกเว้นช่วงปลาย มักมีจะงอย ไม่มีกลีบรวม   เอกสารอ้างอิง
                    ก้ำนเกสรเพศเมียต่อเนื่องจำกรังไข่ ยอดเกสร 2-3 อัน ผลแห้งเมล็ดล่อน ผิวมักมี  Simpson, D.A. (1993). Rhynchospora nervosa: Cyperaceae. Curtis’s Botanical
                    ปุ่มกระจำย                                                Magazine 10: 117-121.

                       สกุล Carex อยู่ภายใต้เผ่า Cariceae มีมากกว่า 2000 ชนิด นับว่าเป็นสกุล
                       ขนาดใหญ่และมีมากที่สุดของวงศ์ พบกระจายทั่วไปทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น
                       ในไทยมี 40 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินที่ใช้เรียกพืชจำาพวกกกหรือคล้ายกก

                    กกกระบอก
                    Carex speciosa Kunth
                       กกแตกกอหนำแน่น ล�าต้นคล้ายเป็นปีกแคบ ๆ สูงได้ถึง 45 ซม. ใบรูปแถบ
                    กว้ำง 1.5-6 มม. ยำวได้ถึง 60 ซม. ปลำยเรียวแหลม แบนหรือพับจีบ กำบใบยำว
                    ได้ถึง 8 ซม. วงใบประดับ 1-2 วง ยำวได้ถึง 20 ซม. ช่อดอกแบบเชิงลดออก
                    เดี่ยว ๆ หรือมี 2-3 ช่อ เรียงห่ำง ๆ รูปทรงกระบอก ยำว 0.7-3.5 ซม. ช่อดอกที่โคน
                    ก้ำนช่อสั้น ดอกเพศผู้อยู่ช่วงปลาย สั้นกว่าช่วงดอกเพศเมีย กำบดอกเพศเมีย
                    สีเขียว รูปไข่ ยำว 2-3 มม. ขอบบำง เส้นกลำงกำบ 1-3 เส้น ใบประดับย่อยคล้าย
                                                                          กกแก้ว: ใบประดับ 4-5 อัน ปลำยเรียวแหลม พับงอกลับ ส่วนโคนสีขำวมำกกว่ำหนึ่งในสี่ของควำมยำว ช่อดอกแบบ
                    รูปคนโทมีสามมุม ยาวกว่ากาบ รูปรี ยำว 2.5-3.5 มม. ปลายเป็นจะงอย จัก 2 พู   ช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ (ภำพ: cultivated - RP)
                    ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลมีสำมมุม รูปรี ยำว 3-3.5 มม. มีก้ำนสั้น ๆ
                       พบที่อินเดีย เนปำล ภูฏำน พม่ำ จีนตอนใต้ ภูมิภำคอินโดจีน สุมำตรำ และชวำ   กกเขาสก
                    ขึ้นตำมที่โล่ง ชำยป่ำดิบเขำ ควำมสูงถึงประมำณ 1800 เมตร มีควำมผันแปรสูง   Khaosokia caricoides D. A. Simpson, Chayam. & J. Parn.
                    แยกเป็นหลำยชนิดย่อยตำมควำมกว้ำงของใบ และขนำดของกำบในดอกเพศเมีย  วงศ์ Cyperaceae

                      เอกสารอ้างอิง                                        กกแตกกอหนำแน่น ตั้งตรงหรือห้อยลง แยกเพศต่างต้น ใบรูปแถบ ยำวได้ถึง
                       Dai, L.K., S.Y. Liang, S. Zhang, Y. Tang, T. Koyama and G.C. Tucker. (2010).   50 ซม. กำบใบยำว 8-9 ซม. ลิ้นใบบำง ช่อดอกเพศผู้และเพศเมียคล้ำยกัน แยกแขนง
                          Cyperaceae (Carex) In Flora of China Vol. 23: 331.  สั้น ๆ ช่อย่อยแคบ ยำว 3.5-7 ซม. มี 2-4 ข้อ แต่ละข้อมีกาบประดับคล้ายใบ ช่อย่อย
                       Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.   รูปแถบ มี 3-11 ช่อ แกนช่อยำว 2-7 ซม. ช่อยำว 2-2.7 ซม. กำบด้ำนล่ำงเป็นหมัน
                          6(4): 449-484.                                มี 7-9 กำบ รูปไข่ ยำว 3.5-4 มม. ขอบบำง วงกลีบรวมเป็นขนแข็ง 7 อัน ใน
                                                                        ดอกเพศเมียขนาดสั้นกว่าในดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 3 อัน เกสรเพศเมีย 3 อัน
                                                                        ผลเปลือกแข็งเมล็ดล่อน ผิวเรียบ
                                                                           พืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพำะที่เขำสก สุรำษฎร์ธำนี ขึ้นตำมหน้ำผำหินปูน
                                                                        ควำมสูงประมำณ 100 เมตร

                                                                           สกุล Khaosokia D. A. Simpson, Chayam. & J. Parn. เป็นกกสกุลพบใหม่
                                                                           ยังไม่สามารถจำาแนกให้อยู่ภายใต้เผ่า Cariceae, Dulichieae หรือ Scirpeae
                                                                           มีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งขึ้นตามสถานที่เก็บตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบ คำาระบุชนิด
                                                                           หมายถึงคล้ายกับกกในสกุล Carex
                      กกกระบอก: ล�ำต้นเป็นเหลี่ยม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ รูปทรงกระบอก ดอกเพศผู้อยู่ช่วงปลำย ช่อที่โคน
                    ก้ำนช่อสั้น กำบเพศเมียรูปไข่มีสำมมุม (ภำพ: ดอยเชียงดำว เชียงใหม่ - SSi)  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Simpson, D.A., A.M. Muasya, K. Chayamarit, J. Parnell, S. Suddee, B. Wilde,
                    กกแก้ว                                                    M. Jones, J. Bruhl and R. Pooma. (2005). Khaosokia caricoides, a new
                                                                              genus and species of Cyperaceae in Thailand. Botanical Journal of the
                    Rhynchospora nervosa (Vahl) Boeckeler                     Linnean Society 149: 357-364.
                    วงศ์ Cyperaceae
                      ชื่อพ้อง Dichromena nervosa Vahl
                       กกมีเหง้ำ ล�ำต้นสูงได้ถึง 70 ซม. โคนหนาคล้ายเป็นหัว ใบรูปแถบ ยำวได้ถึง
                    50 ซม. ปลำยเรียวแหลม แบนหรือเป็นร่อง บำงครั้งมีขนหยำบหรือขนครุย กำบใบ
                    เป็นหลอด ยำวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับ 4-5 อัน รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยำวได้ถึง
                    22 ซม. ปลำยเรียวแหลม พับงอ ส่วนโคนด้านบนสีขาวมากกว่าหนึ่งในสี่ของ
                    ความยาว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ มี 4-16 ช่อย่อย ช่อย่อยรูปไข่
                    แกมรูปขอบขนำน ยำว 0.5-1 ซม. กำบรูปไข่กว้ำง ยำว 3-5 มม. สีขำวหรือน�้ำตำล
                    เกสรเพศผู้ 2-3 อัน ก้ำนชูอับเรณูยำวได้ถึง 4.5 มม. ยอดเกสรเพศเมีย 2 อัน
                    ยำว 1.5-3 มม. ผลแห้งเมล็ดล่อน เว้ำสองด้ำน รูปไข่กว้ำง ยำว 1-1.5 มม. โคน   กกเขาสก: ถิ่นที่อยู่ตำมหน้ำผำหินปูน แตกกอหนำแน่น ห้อยลง กำบประดับคล้ำยใบ ช่อดอกย่อยเพศผู้รูปทรงกระบอก
                    ก้านเกสรเพศเมียรูปสามเหลี่ยมโค้ง ผิวมีรอยย่นตำมขวำง   แคบ ๆ (ภำพ: เขำสก สุรำษฎร์ธำนี - RP)

                                                                                                                        1






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   1                                                                   3/1/16   5:18 PM
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26