Page 24 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 24

กรดน�้า
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     กรรณิการ์
                                                                     Nyctanthes arbor-tristis L.
                                                                     วงศ์ Oleaceae
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงไม่เกิน 10 ม. กิ่งเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม รูปรี ยำว
                                                                     6-12 ซม. แผ่นใบมีขนขำว ก้ำนใบยำวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกสาม
                                                                     แต่ละกระจุกมี 3-7 ดอก ไร้ก้าน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ขอบเรียบ ดอกรูปดอกเข็ม
                                                                     สีขาว หลอดกลีบดอกสีส้มแดง ยำวประมำณ 1 ซม. มี 4-8 กลีบ รูปขอบขนำน
                                                                     ยำว 5-7 มม. บิดเวียนด้านขวา ปลำยจักเป็นพู เกสรเพศผู้ 2 อัน ก้ำนชูอับเรณู
                                                                     สั้นมำก ติดเหนือกลีบดอก รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียทรงกระบอก ปลายแยก
                                                                     2 พู ผลแห้งแตก คล้ายรูปหัวใจ แบน ๆ เส้นผ่ำนศูนย์กลำงประมำณ 2 ซม.
                                                                     แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว
                                                                       ถิ่นก�ำเนิดในอินเดีย สุมำตรำ และชวำ เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน ดอกมี
                                                                     กลิ่นหอมแรงตอนกลำงคืน ส่วนต่ำง ๆ มีสรรพคุณด้ำนสมุนไพรหลำยอย่ำง ดอก
                                                                     ให้น�้ำมันหอมระเหย ดอกแห้งใช้ย้อมผ้ำให้สีเหลือง

                                                                       สกุล Nyctanthes L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Myxopyreae มี 2 ชนิด อีกชนิดคือ
                                                                       N. aculeata Craib พืชถิ่นเดียวของไทย อนึ่ง ต้นกรรณิการ์ในที่นี้อินเดียเรียกว่า
                                                                       Parijat ที่กล่าวถึงในศาสนาฮินดูในหลายเรื่อง และยังได้ชื่อว่าเป็นต้นไม้แห่ง
                                                                       ความเศร้าตามคำาระบุชนิด “arbor-tristis” และอาจเป็นไม้ในพุทธประวัติ
                                                                       ปาริชาต ที่มีอ้างอิงบ้างว่าหมายถึง ทองหลางลาย Erythrina variegata L.

                                                                       เอกสารอ้างอิง
                                                                       Moldenke, H.N. and A.L. Moldenke (1983). Nyctanthaceae. A revised handbook
                                                                          to the flora of Ceylon Vol. 4: 178-181.
                                                                       Rani, C., S. Chawla, M. Mangal, A.K. Mangal, S. Kajla and A.K. Dhawan.
                                                                          (2012). Nyctanthes arbo-tristis Linn. (Night Jasmine): A sacred ornamental
                                                                          plant with immense medicinal potentials. Indian Journal of Traditional
                                                                          Knowledge 11(3): 427-435.


                  กง: H. malayana ถิ่นที่อยู่ตำมล�ำน�้ำ ต้นสูงใหญ่ (ภำพบน: บำงนรำ นรำธิวำส - RP); กง: H. thailandica ผลสุก
                สีด�ำ (ภำพกลำง: ทุ่งค่ำย ตรัง - SSi); กง: Hanguana sp. (ภำพล่ำง: เขำหลวง นครศรีธรรมรำช - SSi)
                กรดน้ำา
                Scoparia dulcis L.
                วงศ์ Plantaginaceae
                   ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. มีขนตำมข้อ ใบเรียงตรงข้ามหรือรอบข้อ
                รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนำน ยำว 0.5-3.5 ซม. โคนเรียวจรดก้ำนใบ ขอบจักซี่ฟัน
                แผ่นใบด้านล่างมีต่อมโปร่งแสง ก้ำนใบยำว 0.5-1 ซม. ดอกออกเป็นกระจุก 1-4 ดอก  กรรณิการ์: หลอดกลีบดอกสีส้มแดง ยำวประมำณ 1 ซม. มี 4-8 กลีบ ผลคล้ำยรูปหัวใจ แบน ๆ (ภำพ: cultivated - RP)
                ตำมข้อ ก้ำนดอกยำวได้ถึง 1 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ แยกจรดโคน รูปขอบขนำน  กรวยป่า
                แกมรูปไข่ ยำวประมำณ 1.5 มม. ขยำยในผล ขอบมีขนครุย ดอกสีขำว โคนสีม่วงอ่อน   Casearia grewiifolia Vent.
                มี 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปขอบขนำน ยำวประมำณ 3 มม. ปากหลอดกลีบ
                มีขนหนาแน่น กลีบบนขนำดใหญ่กว่ำกลีบอื่นเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน ยำวเท่ำ ๆ   วงศ์ Salicaceae
                กลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง ก้ำนเกสรเพศเมียยำวเท่ำ ๆ เกสรเพศผู้ ผลแห้งแตกเป็น 4 ซีก   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ กลีบเลี้ยง
                เส้นผ่ำนศูนย์กลำง 2-3 มม. เมล็ดขนำดเล็กจ�ำนวนมำก     และรังไข่ ใบเรียงสลับระนำบเดียว รูปขอบขนำนหรือแกมรูปไข่ ยำว 8-16 ซม.
                   พบทั่วไปในเขตร้อน เป็นวัชพืช ใช้เป็นส่วนประกอบในต�ำรับสมุนไพรหลำยขนำน   โคนเบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน ก้ำนใบยำว 0.6-1.2 ซม. ดอกสีเขียว ออกเดี่ยว ๆ หรือ
                มีสรรพคุณแก้ไข้มำลำเรีย และต้ำนเซลล์มะเร็ง           เป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับขนำดเล็กมีหลำยใบ ก้ำนดอกยำว 5-8 มม.
                                                                     กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยำว 2-3 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10
                   สกุล Scoparia L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae มีประมาณ 20 ชนิด   อัน ติดบนขอบจานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจักเป็นพู รังไข่มีช่องเดียว พลำเซนตำ
                   ส่วนมากพบในอเมริกาเขตร้อน ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึงคล้ายไม้กวาด   ตำมแนวตะเข็บ 2-4 แนว ก้ำนเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตก รูปรี ยำว 2.5-3.5 ซม.
                   มาจากคำาว่า “scopa” กิ่งหรือไม้กวาด               มี 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีส้มแดง จักชายครุย
                  เอกสารอ้างอิง                                        พบที่พม่ำ ภูมิภำคอินโดจีนและมำเลเซีย ในไทยพบทุกภำค ขึ้นตำมป่ำเบญจพรรณ
                   Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 217-218.  ป่ำเต็งรัง ป่ำดิบชื้น หรือเขำหินปูน ควำมสูงถึงประมำณ 1000 เมตร

                                                                       สกุล Casearia Jacq. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Flacourtiaceae มีประมาณ 180 ชนิด
                                                                       ในไทยมี 11 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามหมอสอนศาสนาชาวดัตซ์ Johannes Casearius
                                                                       (1642-1678)

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 20-27.
                                                                       Harwood, B. and N. Tathana. (2011). Two new Casearia (Salicaceae) species
                                                                          from Thailand, and notes on Casearia grewiifolia var. gelonioides. Thai
                  กรดน�้า: ใบเรียงรอบข้อ ขอบจักซี่ฟัน ดอกออกเป็นกระจุก 1-4 ดอกตำมข้อ ปำกหลอดกลีบมีขนหนำแน่น (ภำพ:   Forest Bulletin (Botany) 39: 23-27.
                ตะรุเตำ สตูล - PK)

                4






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   4                                                                   3/1/16   5:19 PM
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29