Page 22 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 22
กกปากนก
กกปากนก สารานุกรมพืชในประเทศไทย กกรังกา
Carex oedorrhampha Nelmes Cyperus involucratus Rottb.
วงศ์ Cyperaceae กกมีเหง้ำ ล�ำต้นสั้นแตกกอ รูปสำมเหลี่ยมหรือตรงช่วงโคน ใบลดรูปเป็นกาบ
กกแตกกอแน่น ใบส่วนมากออกที่โคน กว้ำง 4-8 มม. ยำวได้ถึง 1.2 ม. ปลำย กำบใบยำว 10-20 ซม. ปลายตัด เบี้ยว ก้ำนช่อยำว 0.5-1.7 ม. มีขนสำก วงใบประดับ
เรียวแหลม พับจีบ กำบใบยำว 5-17 ซม. สีน�้ำตำลแดงหรือม่วง วงใบประดับล่ำง มี 15-25 อัน ยาวเท่า ๆ กัน รูปแถบ ยำว 20-50 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง
คล้ำยใบ ยำว 30-50 ซม. ช่อดอกยาว 18-25 ซม. ช่อย่อยแบบช่อเชิงลด มี 4-8 ช่อ ออกที่ยอด แผ่กว้ำง 15-30 ซม. ช่อแขนงย่อยออกเป็นกระจุกคล้ายซี่ร่ม ยำว
ช่อช่วงปลายเพศผู้ ยาว 4-8 ซม. ช่อเพศเมียออกด้านข้าง ยาว 6-12 ซม. กำบช่อ 7-10 ซม. ช่อแขนงรองยำว 1-1.5 ซม. ช่อดอกย่อยเป็นกระจุก 3-10 ช่อ รูปรีหรือ
รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยำว 1.8-3 มม. ปลายมนหรือตัด มีหนามแข็งยาว 1-2 มม. รูปขอบขนำน ยำว 3-9 มม. แบน ๆ กำบรูปไข่ สีเขียวอ่อนหรือมีแต้มสีน�้าตาล
เส้นกลีบเป็นสัน 3 เส้น ใบประดับย่อยรูปคนโท ยำว 3-3.8 มม. จะงอยยำว ยำวประมำณ 2 มม. ปลำยแหลม แกนกลำงเป็นสัน ดอกจ�ำนวนมำก เกสรเพศผู้
ประมำณ 1 มม. ปลำยตัด ผลรูปรีแคบ รูปสำมเหลี่ยมตำมขวำง ยำวประมำณ 2 มม. 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรูปไข่ เป็นสำมเหลี่ยม ยำวประมำณ 0.8 มม.
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กกกระบอก, สกุล) ผิวมีตุ่มเล็ก ๆ กระจำย
พบที่อินเดีย ภูฏำน จีนตอนใต้ เวียดนำม สุมำตรำ ในไทยพบที่ดอยอินทนนท์ มีถิ่นก�ำเนิดในแอฟริกำตะวันออก และคำบสมุทรอำหรับ เป็นไม้น�้ำประดับ
และดอยเชียงดำว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตำมป่ำดิบเขำ ควำมสูง 1800-2500 เมตร ทั่วไปในเขตร้อนหรือเป็นวัชพืช
เอกสารอ้างอิง กกสานเสื่อ
Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.
6(4): 477. Cyperus corymbosus Rottb.
กกมีเหง้าทอดเลื้อย ล�าต้นออกตามเหง้า รูปสำมเหลี่ยมมน สูง 0.9-2 ม.
ใบมักลดรูปเป็นกาบ หรือรูปแถบ ยำวได้ถึง 6 ซม. วงใบประดับ 2-4 อัน ยำว
ไม่เท่ำกัน รูปใบหอก ยำวได้ถึง 3.5 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง ยำว
10-17 ซม. กว้ำง 4-9 ซม. ช่อแยกแขนง 6-15 ช่อ ยำวได้ถึง 11 ซม. ช่อแขนงย่อย
สั้นหรือช่อดอกย่อยเป็นกระจุกไร้ก้ำน มี 5-15 ช่อกระจุกย่อย รูปแถบ ยำว 0.5-1.8 ซม.
แบนเล็กน้อย แกนเป็นปีก กาบมีมากกว่า 9 อัน สีน�้าตาล รูปไข่ ยำวประมำณ 2 มม.
ปลำยมน แกนกลำงเป็นสัน เกสรเพศผู้ 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ผลรูปทรงกระบอก
เป็นสำมเหลี่ยม ยำวประมำณ 1 มม. ผิวมีตุ่ม
พบที่อเมริกำเขตร้อน แอฟริกำ มำดำกัสกำร์ อินเดีย ศรีลังกำ ภูมิภำคอินโดจีน
กกปากนก: ใบออกที่โคน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ช่วงปลำยเป็นช่อเพศผู้ (ภำพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - SSi) และออสเตรเลียตอนบน ขึ้นตำมที่ชื้นแฉะ ควำมสูงระดับต�่ำ ๆ ในไทยปลูกเพื่อใช้
กกระบาด ทอเสื่อคุณภำพสูง และสำนตะกร้ำ
Cyperus michelianus (L.) Link. subsp. pygmaeus (Rottb.) Asch. เอกสารอ้างอิง
& Graebn. Dai, L.K., G.C. Tucker and D.A. Simpson. (2010). Cyperaceae (Cyperus) In
Flora of China Vol. 23: 219, 228.
ชื่อพ้อง Cyperus pygmaeus Rottb. Simpson, D.A. and T. Koyama. (1998). Cyperaceae. In Flora of Thailand Vol.
กกล้มลุก ล�ำต้นรูปสำมเหลี่ยม แตกกอหนำแน่น สูง 5-25 ซม. ใบรูปแถบ ยำวได้ถึง 6(4): 345-387.
20 ซม. กว้ำง 1-3 มม. ปลำยแหลม แบนหรือเป็นร่องตำมยำว กำบใบยำวได้ถึง 5 ซม.
วงใบประดับมี 2-7 อัน ยาวไม่เท่ากัน ยำว 4-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น
ช่อย่อยมีหนึ่งหรือหลำยช่อเรียงแน่น รูปไข่ ยำว 0.7–1.5 ซม. ช่อดอกย่อยจ�านวนมาก
ออกเป็นกระจุก รูปไข่หรือแกมรูปใบหอก ยำว 3-5 มม. แบน บิดเวียน กำบช่อ
รูปขอบขนำน ยำวประมำณ 2 มม. ปลำยแหลมหรือมีติ่งแหลม โค้งเล็กน้อย
แห้งสีน�้าตาลแดงกึ่งโปร่งแสง กลางกลีบเป็นสันมีหนามละเอียด เกสรเพศผู้
1-2 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 2-3 อัน ผลรูปขอบขนำนหรือแกมรูปไข่ เว้ำสองด้ำน
มีสำมมุม แบน ยำวประมำณ 1 มม. โปร่งแสง กกระบาด: ใบประดับ ยำวไม่เท่ำกัน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ช่อดอกย่อยเป็นกระจุก (ภำพ: มุกดำหำร - PK)
พบแถบเมดิเตอร์เรเนียน แอฟริกำ เอเชีย และออสเตรเลีย ขึ้นตำมที่ชื้นแฉะ
และที่โล่ง ควำมสูงถึงประมำณ 800 เมตร ส่วนชนิดย่อย subsp. michelianus
กำบเรียงเวียน พบทำงยุโรปตอนใต้ อินเดียตอนบน และจีน
กกรังกา, สกุล
Cyperus L.
วงศ์ Cyperaceae กกรังกา: ใบลดรูปเป็นกำบ ส่วนที่โผล่พ้นดินขึ้นมำเป็นส่วนของก้ำนช่อดอกคล้ำยล�ำต้นและใบ ใบประดับคล้ำยใบ
กกล้มลุก มีเหง้าหรือไหล ล�ำต้นตรงหรือรูปสำมเหลี่ยม ใบที่โคนเรียงสำมด้ำน มี 15-25 อัน ยำวเท่ำ ๆ กัน (ภำพ: cultivated - MP)
ไม่มีลิ้นกาบ วงใบประดับคล้ายใบติดที่โคนช่อดอก ช่อดอกออกที่ยอด ออกเดี่ยว ๆ
หรือแยกแขนง ช่อย่อยแบบซี่ร่ม คล้ำยนิ้วมือ ช่อเชิงลด หรือช่อกระจุกแน่น
กาบช่อดอกเรียงสองแถว กาบที่โคนไม่มีดอก ดอกสมบูรณ์เพศ ไม่มีกลีบรวม
หรือลดรูป เกสรเพศผู้ส่วนมำกมี 3 อัน ก้ำนเกสรเพศเมียต่อเนื่องจำกรังไข่ ยอดเกสร
ส่วนมำกมี 3 อัน ผลแห้งเมล็ดล่อนรูปสำมเหลี่ยม
สกุล Cyperus อยู่ภายใต้เผ่า Cypereae มีมากกว่า 500 ชนิด ส่วนมากพบใน
เขตร้อน ในไทยมี 47 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kyperion” หรือ “kyperos” กกสานเสื่อ: ล�ำต้นออกตำมเหง้ำ รูปสำมเหลี่ยมมน ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง ใบประดับ 2-4 อัน
เป็นชื่อที่ใช้เรียกพืชพวกกก ยำวไม่เท่ำกัน (ภำพ: ปรำจีนบุรี - PT)
2
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 2 3/1/16 5:19 PM