Page 38 - เนื้อเรื่อง.pmd
P. 38

หนา แตวัดจากความชัดเจน ครบถวน ความตรงประเด็นของเนื้อหา
                             3.    ความชัดเจนและสละสลวย โดยพิจารณาประโยคที่ตองงาย ถูกตองตาม

                                   หลักการเขียน หลักไวยากรณ และเครื่องหมายวรรคตอน การยอหนา

                                   รวมทั้งการสะกดคำ หลีกเลี่ยงการใชภาษาถอยคำที่คลุมเครือ มีหลาย

                                   ความหมาย ควรใชหัวขอยอยเพื่อไมใหสับสน
                             4.    การเขียนเรียบเรียงรายงาน ซึ่งอาจแบงเนื้อหาจากภายในเลมเปนตอน หรือ

                                   เปนบท ตองมีความตอเนื่องกันตลอดทั้งเลม เมื่อเขียนตนรางเสร็จ

                                   ควรไดอานตรวจทานทุกขอความ อานแลวไมรูสึกสะดุดมีความตอเนื่อง
                                   อยางสม่ำเสมอตลอดทั้งเลม

                             5.    การนำเสนอขอมูล ในการเขียนรายงาน มีขอมูลที่นำเสนอแบงเปนสอง

                                   ประเภท คือ ขอมูลที่เปนจำนวน สถิติ ตัวเลข และขอมูลที่เปนขอความ
                                   บรรยาย สำหรับการนำเสนอขอมูลที่เปนสถิติ ตัวเลข ควรนำเสนอใน

                                   รูปแบบของตาราง  แผนภูมิ  หรือแผนภาพตามความเหมาะสม

                                   พรอมทั้งมีเลขที่และชื่อกำกับตาราง  หรือแผนภูมิดวยเพื่อผูอาน
                                   จะไดทราบวาเปนขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใด นอกจากนี้ ตองระบุที่มาของขอมูล

                                   ใหชัดเจนอีกดวย สวนขอมูลที่เปนขอความบรรยาย ตองนำเสนอขอมูล

                                   ที่เปนสาระสำคัญ หากขอมูลใดที่สำคัญแตเนื้อหาไมตอเนื่องกับกรอบ
                                   เคาโครงที่กำหนดไว ควรนำไปไวในภาคผนวก ทั้งนี้เพื่อใหไดรายงาน

                                   ที่เปนเอกภาพ ผูอานอานแลวสามารถจับประเด็นที่นำเสนอไดชัดเจน

                                         การนำเสนอขอมูล ตองคำนึงถึงลำดับกอนหลัง โดยเริ่มตนดวย

                                   ขอมูล เบื้องตนที่งายแกการเขาใจกอน แลวจึงนำเสนอขอมูลที่ซับซอนกวา
                                   ตามลำดับ

                             6.    การแบงยอหนา โดยทั่วไปยอหนาแตละยอหนาจะบอกเรื่องราวเพียง

                                   ประเด็นใดประเด็นหนึ่ง  การจัดแบงยอยหนาควรเรียงลำดับเพื่อให

                                   เนื้อความตอเนื่องสัมพันธกัน การแบงยอหนาขึ้นอยูกับจุดมุงหมายของ
                                   ผูเขียนแตละคน เชน ตองการสื่อสารกับผูอาน ตองการเนนขอความ

                                   บางตอน ตองการชวยใหผูอานอานขอความแตละยอหนาไดรวดเร็ว ฯลฯ

                             7.    การอานทบทวน ขั้นสุดทายของการเขียน คือ อานทบทวนสิ่งที่เขียน
                                   ทั้งหมดวามีขอความใดที่ยังไมสมบูรณ  การเรียงลำดับเรื่องมีความ

                                   เชื่องโยงกันหรือไม ขอความสำคัญที่ยังไมไดกลาวถึงจะทำใหมองเห็นจุด

                                   ที่ควร แกไข








               30                   หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม  รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43