Page 36 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 36

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                                     1.2 การประเมินค่าความเสี่ยง (Risk evaluation) เมื่อได้ความเสี่ยง โดยมี

                       รายละเอียด การประมาณเชิงกึ่งปริมาณเป็นแมทริกซ์แล้ว จึงน ามาประเมินค่าความเสี่ยงโดยการ
                       เปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ เช่น หลักเกณฑ์ยอมรับความเสี่ยง (Risk

                       acceptance criteria) ว่าจะยอมรับได้มากน้อยเพียงใดเพื่อประกอบการตัดสินใจว่าจะบ าบัดความ
                       เสี่ยงนั้น ๆ ต่อไปอย่างไร พึงพิจารณาในแง่ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เช่น

                                         -  ค่าใช้จ่าย ประโยชน์ และความคุ้มทุนที่จะได้รับจากการแก้ไขบ าบัดความ

                                            เสี่ยง (Costs and benefits)
                                         -  ข้อก าหนดด้านกฎหมาย และกฎระเบียบขององค์กร (Legal

                                            requirements)

                                         -  ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม (Socioeconomic factors)
                                         -  ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental factors)

                                         -  ประเด็นสาระส าคัญในมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย (Concerns of

                                            stakeholders)
                                         -  อื่น ๆ

                                 2.  การรายงานความเสี่ยง (Risk reporting)
                                     เมื่อประเมินความเสี่ยงแล้วเสร็จ จ าเป็นต้องออกรายงานการประเมินเป็นเอกสารที่

                       ผู้อื่นสามารถอ่านได้เอกสารนี้จะเป็นสาระส าคัญในการสื่อสารให้บุคลากรทั้งองค์กรได้รับรู้ รายงาน

                       ประกอบด้วยรายละเอียดอย่างน้อยตามลักษณะรายละเอียดของความเสี่ยง และการออกรายงานมี
                       วัตถุประสงค์ให้ส่วนต่าง ๆ ได้รับรู้ ดังต่อไปนี้

                                     ฝ่ายบริหาร ควรได้ข้อมูลการรายงานเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ เช่น
                                         -  รับรู้นัยส าคัญของความเสี่ยงที่องค์กรเผชิญอยู่

                                         -  เข้าใจผลที่กระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียต่าง ๆ ในกรณีที่เกิดมีเหตุ หรือ

                                            เหตุการณ์ และเกิดผลเสียต่อภารกิจ และผลประกอบการ
                                         -  ด าเนินการเพื่อสร้างความตระหนักในปัญหาความเสี่ยงให้เกิดการรับรู้ทั่วทั้ง

                                            องค์กร

                                         -  เข้าใจผลกระทบที่อาจมีต่อความมั่นใจของผู้ที่ได้รับผลกระทบ
                                         -  ให้แน่ใจว่ากระบวนการบริหารความเสี่ยงก าลังเป็นไปอย่างได้ผล

                                         -  ออกนโยบายบริหารความเสี่ยงที่มีเนื้อหาด้านปรัชญาและความรับผิดชอบ

                                            ของหน่วยงานและบุคลากรต่าง ๆ ในการบริหารความเสี่ยง
                                     หัวหน้างาน ควรได้ข้อมูลการรายงานเพื่อวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ เช่น







                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 34
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41