Page 40 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 40

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                                     วิธีการที่วิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณที่ส าคัญในปัจจุบัน คือ 1) การวิเคราะห์

                       ความไว (Sensitivity Analysis) เป็นการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีรูปแบบง่ายที่สุด กล่าวคือ การ
                       วิเคราะห์ความไว สามารถก าหนดผลลัพธ์ของโครงการ เช่น การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ก่อให้เกิด

                       ความเสี่ยงด้านค่าใช้จ่ายของวัสดุ หรือ การออกแหล่งช้า ท าให้โครงการเปลี่ยนแปลง The
                       Association for Project Management (APM : 7) ระบุว่า ความส าคัญของการวิเคราะห์วิธีนี้ แสดง

                       ให้เห็นว่า ผลลัพธ์ของการเปลี่ยนแปลงตัวแปรด้านความเสี่ยงเพียงหนึ่งตัวแปรสามารถท าให้ผลลัพธ์

                       ของโครงการแตกต่างกันได้ ในทางปฏิบัติการวิเคราะห์ความไวจะต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงมากกว่า
                       หนึ่งตัวแปร เพื่อก าหนดตัวแปรที่มีศักยภาพด้านผลกระทบต่อโครงการในด้านค่าใช้จ่าย หรือ

                       ระยะเวลาของโครงการในระดับสูง และอาจน าวิธีการนี้ไปใช้วิเคราะห์ผลกระทบการตอบแทนทาง

                       เศรษฐกิจของโครงการ
                                 3.  การวิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Probabilistic Analysis) เป็นการ

                       วิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงแต่ละตัว แล้วพิจารณาผลของความเสี่ยงภาพรวม โดยการใช้

                       เทคนิคการสุ่ม (Sampling Techniques) ซึ่งปกติจะอ้างอิง Monte Carlo Simulation ที่เข้าใจอย่าง
                       ง่าย คือ การใช้การคาดคะเน 3 ลักษณะ คือ การใช้เวลาน้อยที่สุด หรือ การมองในแง่ดี (Minimum

                       or Optimistic) ค่าเฉลี่ย (Mean หรือ Most likely time) และมากที่สุด หรือ มองในแง่ร้าย
                       (Maximum or Pessimistic) ดังนั้นการค านวณเวลาการด าเนินโครงการจึงเป็นผลรวมของค่าที่เลือก

                       จากความเสี่ยงขอแต่ละตัว หรือ แต่ละกิจกรรม เรารู้จักการคิดแบบนี้ในลักษณะ Critical Path

                       Method หรือ เส้นทางสายวิกฤตที่ใช้ค านวณระยะเวลาการด าเนินกิจกรรมของโครงการว่าจะแล้ว
                       เสร็จในระยะเวลานานเท่าใด กิจกรรมของโครงการต้องมีค่าใช้จ่าย หากกิจกรรมของโครงการล่าช้าก็

                       อาจกระทบค่าใช้จ่ายของโครงการได้
                                 4.  ต้นไม้การตัดสินใจ (Decision Trees) เป็นวิธีการสร้างรูปแบบทางกราฟฟิคเพื่อให้

                       ข้อมูลที่จ าเป็นต่อการตัดสินใจ และแสดงให้เห็นการปฏิบัติกรที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน และผลลัพธ์

                       ทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การวิเคราะห์ความเสี่ยงแบบนี้มักใช้ในการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายของ
                       โครงการ






















                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 38
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45