Page 42 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 42

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                                         ในกิจกรรมการจัดซื้อจัดหา ที่ให้ได้มาซึ่งปัจจัยในการผลิตทั้งวัตถุดิบ สินค้า

                       แรงงาน หรือ บริการใด ๆ นั้นจะมีการใช้ค าที่แตกต่างกันแต่ที่เกี่ยวข้อง กันอยู่ ได้แก่
                                            + การจัดซื้อ Purchasing

                                            + การจัดหา Procurement
                                            + การจัดหา Sourcing

                                            1.  การจัดซื้อ Purchasing

                                                เป็นกิจกรรม หรือ กระบวนการที่ครอบคลุมการด าเนินงานเฉพาะ
                       ในการซื้อของ และรับของโดยอาจจะเลือกจากรายชื่อซัพพลายเออร์ ที่หน่วยงานได้ติดต่อซื้อขายเป็น

                       ประจ าอยู่แล้ว โดยข้อมูลการไหลภายในองค์กรจะเป็นเพียง ข้อมูลความต้องการให้มีการสั่งซื้อ

                       (Purchase Request: PR) จากหน่วยงานผู้ใช้ ส่งมายังหน่วยงานจัดซื้อ หน่วยงานจัดซื้อจะท าการ
                       ประมวลผล เพื่อส่งข้อมูลค าสั่งซื้อ โดยออกใบสั่งซื้อ (Purchase Order; PO) และส่งไปให้กับ

                       ซัพพลายเออร์ที่ก าหนด

                                            2.  การจัดซื้อ Purchasing
                                            3.  การจัดหา Procurement

                                                ขอบเขตของกิจกรรมการด าเนินงานจะขยายออกไปกว้างกว่าการ
                       จัดซื้อโดยในขั้นตอนของการจัดหานั้น จะเริ่มตั้งแต่หน่วยงานที่ต้องการปัจจัยการผลิต หรือ ปัจจัย

                       น าเข้าใด ๆ จะท าการก าหนดความต้องการว่าต้องการจะซื้ออะไร คุณลักษณะ หรือ ข้อก าหนดเฉพาะ

                       ของสิ่งนั้นเป็นอย่างไร จะส่งของอย่างไร เมื่อไหร่ และข้อก าหนดอื่น ๆ หลังจากนั้นก็หน่วยงานจัดซื้อ
                       จะท าการหาซัพพลายเออร์ที่คาดว่า สามารถส่งของตามที่ก าหนดได้ และท าการเจรจาต่อรองกับ

                       ซัพพลายเออร์รายต่าง ๆ เพื่อให้ได้ของตามที่หน่วยงานผู้ใช้ต้องการ ในราคาที่เหมาะสม
                                            4.  การจัดหา Procurement

                                                ความหมายของค าว่า sourcing นั้น ถึงแม้ว่าจะแปลว่าการจัดหา

                       เหมือนกับ Procurement แต่ความหมายลึก ๆ ของค าว่า sourcing นั้น จะเป็นกิจกรรมที่ครอบคลุม
                       ถึงการคัดเลือกซัพพลายเออร์รายใหม่ ๆ รวมไปถึงการบริหารความสัมพันธ์กับซัพพลายเออร์รายต่าง

                       ๆ ตามความเหมาะสมของสภาพทางการตลาดของสิ่งของที่จะท าการจัดหาจากซัพพลายเออร์การ

                       จัดหา Procurement
                                            5.  กิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                                                นอกจากทั้ง 3 ค า มิได้หมายความว่ากระบวนการจัดซื้อจัดหา จะมี

                       กิจกรรมเพียงเท่าที่แสดง หากแต่จะต้องมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กิจกรรมดังต่อไปนี้
                                                   (1) การคัดเลือกซัพพลายเออร์

                                                   (2) การประเมินซัพพลายเออร์




                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 40
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47