Page 58 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
P. 58

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                            มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                                สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)



                                      3.  ประเภทใช้งานหลายคน (Multitasking) หมายถึง ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้

                    คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ท าหน้าที่ประมวลผล ท าให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน
                    แต่ละคนจะมีสถานีของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถในการ

                    จัดการสูงเพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถท างานเสร็จได้ในเวลา เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นที (Windows
                    NT)

                                      4.  ระบบปฏิบัติการแมคโอเอส (Mac OS) เป็นระบบปฏิบัติการส าหรับเครื่อง

                    คอมพิวเตอร์แมคอินทอชแรกสุดเรียกว่า ซิสเต็ม (System) และเปลี่ยนมาใช้ค าว่าแมคโอเอส เริ่มในแมคโอ
                    เอส 7.5 และพัฒนาต่อมา เป็น แมคดอเอเท็น (MacOS X) มีความสามารถในการท างานหลายโปรแกรม

                    พร้อมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานด้านเดสก์ทอปพับลิชชิ่ง (Desktop Publishing

                           6.  ชนิดขอระบบปฏิบัติการ
                               ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจ าแนกออกได้เป็น 3 ชนิด คือ

                                  1)  ระบบปฏิบัติการแบบใช้คนเดียว  (Stand-Alone Operating System) คือ

                    ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบเดี่ยว ๆ ได้แก่ ระบบปฏิบัติการดอส (DOS) ระบบปฏิบัติการ
                    วินโดวส์ (MS-Windows) ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช (Mac OS) และระบบปฏิบัติการ OS/2 เป็นต้น ตัวอย่าง

                    ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ นากจากสามารถติดตั้งเพื่อใช้งานแบบคนเดียวแล้ว ยังสามารถติดตั้งในรูปแบบระบบ
                    เครือข่ายที่เป็นลักษณะของ Work Group ได้อีกด้วย

                                  2)  ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System) ระบบปฏิบัติการเครือข่าย

                    ในที่นี้ หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ (Client/Server) ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่
                    ติดตั้งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งท าหน้าที่เป็นศูนย์บริการหรือเซร์ฟเวอร์ (เครื่องแม่ข่าย) ที่ไว้คอย

                    บริการข้อมูลหรือทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่เครื่องไครเอนต์ (เครื่องลูกข่าย) บนเครือข่าย เช่น Novell
                    NetWare, Windows NT Server, Windows Server 2003, Windows server 2008 Unix, Linux เป็นต้น

                                  3)  ระบบปฏิบัติการแบบฝังในเครื่อง (Embedded Operating System) เป็น

                    ระบบปฏิบัติการที่มักน าไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมือถือโดยระบบปฏิบัติการแบบฝังในเครื่องนี้ จะถูก
                    เก็บไว้ในชิปรอม ตัวอย่างระบบปฏิบัติการแบบฝังในเครื่องที่นิยมกัน เช่น Windows CE, Pocket PC 2002

                    และ Palm OS เป็นต้น

                           7.  ตัวอย่างโปรแกรมอรรถประโยชน์
                               โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs) โปรแกรมอรรถประโยชน์ หรือมักเรียกว่า

                    โปรแกรมทิลิตี้ เป็นโปรแกรมระบบที่ใช้งานเฉพาะอย่างซึ่งในปัจจุบันระบบปฏิบัติการหลายชนิดได้มีการ

                    ผนวกโปรแกรมยูทิลิตี้ต่าง ๆ มาพร้อมกับชุดระบบปฏิบัติการ เช่น Check Disk, Disk Defragmenter,
                    System Restore และ Backup เป็นต้น







                    รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์               หน้า 56
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63