Page 56 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
P. 56

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                            มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                                สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)



                                  2.4 เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์กับผู้ใช้งาน (User Interface)

                                      ระบบปฏิบัติการจะเป็นตัวกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
                    โดยที่ผู้ใช้งานสั่งงานผ่านทางคีย์บอร์ด เมาส์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เป็นอินพุตรูปแบบต่าง ๆ โดยระบบปฏิบัติการจะ

                    ส่งผ่านค าสั่งเหล่านั้นไปยังระบบฮาร์ดแวร์ เพื่อปฏิบัติตามกระบวนการที่ต้องการ รวมไปถึงการคอยตรวจสอบ
                    การท างานของระบบ ซึ่งบางครั้งอาจมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ระบบปฏิบัติการจะท าการแก้ไขปัญหา เพื่อให้

                    ระบบมีเสถียรภาพอยู่เสมอ

                                  2.5 หน้าที่อื่น ๆ
                                      โปรแกรมระบบปฏิบัติการแต่ละตัวจะมีความสามารถที่แตกต่างกัน เช่น การจัดการ

                    โครงสร้างข้อมูลที่จัดเก็บไว้ให้มีความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัยของระบบ การควบคุมติดต่อสื่อสาร

                    กันในระบบเครือข่าย ซึ่งโปรแกรมระบบปฏิบัติการแต่ละตัวนั้นอาจจะสามารถท าได้เหมือนกัน แต่
                    ประสิทธิภาพอาจจะต่างกันออกไปแล้วแต่ผู้ใช้จะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน

                           5.  ประเภทของระบบปฏิบัติการ

                               สามารถแยกประเภทของระบบปฏิบัติการโดยพิจารณาจากบรรทัดฐานที่ส าคัญ 3 ประการ คือ
                                  1.  ระบบปฏิบัติการยอมให้ผู้ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์พร้อมกันมากกว่า 1 คนหรือไม่

                                  2.  ระบบปฏิบัติการยอมให้มีโปรแกรมท างานพร้อม ๆ กันมากกว่า1 โปรแกรมหรือไม่
                                  3.  ระบบปฏิบัติการสามารถประมวลผลโดยใช้หลายหน่วยประมวลผลได้หรือไม่

                               จากการพิจารณา 3 ประการ ท าให้สามารถจัดประเภทของระบบปฏิบัติการออกได้เป็นลักษณะ

                    ต่าง ๆ ดังนี้
                                  -  ลักษณะที่ 1 ระบบปฏิบัติการโปรแกรมเดียว (Single Program OS) เป็น

                    ระบบปฏิบัติการแบบแรกที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็นระบบที่อนุญาตให้มีผู้ใช้เพียงคนเดียวและเรียกใช้โปรแกรมได้
                    ครั้งละ 1 โปรแกรมเท่านั้น ตัวอย่างเช่น ระบบปฏิบัติการ MS-DOS ของเครื่องพีซีซึ่งให้ผู้ใช้ท าการโหลด

                    โปรแกรมใช้งานเพียงครั้งละ 1 โปรแกรม ถ้าผู้ใช้ต้องการใช้โปรแกรมอื่นจะต้องออกจากโปรแกรมเดิมก่อนจึง

                    จะเปิดโปรแกรมใหม่มาใช้งานได้
                                  -  ลักษณะที่ 2 ระบบปฏิบัติการแบบหลายผู้ใช้ระบบงาน(Multitasking/ Multiuser OS)

                    เป็นระบบปฏิบัติการที่ยอมให้มีหลายโปรแกรมท างานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องได้ในเวลาเดียวกัน

                    ถึงแม้ว่าซีพียูของเครื่องจะท างานได้ครั้งละ 1 ค าสั่งเท่านั้น หลักการท างานสลับไปมาระหว่างโปรแกรมระบบ
                    หลายงานนี้จะท าให้ผู้ใช้ 1 คน สามารถใช้งานโปรแกรมได้หลาย ๆ โปรแกรม หลายงานพร้อมกันได้ เทคนิค

                    การท างานสลับไปมาเช่นนี้เรียกว่า “ไทม์แชริ่ง” (Time Sharing)

                                  -  ลักษณะที่ 3 ระบบปฏิบัติการหลายหน่วยประมวลผล (Multiprocessing OS) เป็น
                    ระบบปฏิบัติการที่ใช้ส าหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล คือ ซีพียูมากกว่า 1 ตัว ซึ่งจะท าให้มีการ

                    ประมวลผลค าสั่งพร้อมกันจริง ๆ ได้หลายค าสั่ง และซีพียูแต่ละตัวก็สามารถท างานโปรแกรมได้หลาย




                    รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์               หน้า 54
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61