Page 52 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
P. 52
การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
40106 ติดตั้งและสนับสนุนการใช้งานระบบปฏิบัติการและซอฟแวร์ที่ให้บริการในระบบเครือข่าย
ซอฟต์แวร์และระบบปฏิบัติการ (sites.google, ม.ป.ป., [ออนไลน์])
1. ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควรต้องเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ส าหรับในการพัฒนาโปรแกรม โดยผู้เขียนโปรแกรมมักเรียกกัน “โปรแกรมเมอร์”เป็นผู้ที่พัฒนา
โปรแกรมด้วยการเขียนชุดค าสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล สามารถแบ่งภาษาคอมพิวเตอร์ออกเป็น
ประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้
1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 ใช้รหัส
เลขฐานสอง (Binary Code) คือ มีแต่เลข 0 กับ 1 เป็นตัวสั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานซึ่งยากต่อการเรียนรู้ และ
โปรแกรมเมอร์จะต้องมีความเชี่ยวชาญด้านระบบคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์
เข้าใจได้ทันที
1.2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages) หรือรัยกว่า ภาษาระดับต่ าเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 เป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย การใช้ภาษาระดับต่ านี้ ต้องใช้
ตัวแปลภาษาระดับต่ าให้เป็นภาษาเครื่องที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุด
ภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 เริ่มใช้
ชุดค าสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับประโยคภาษาอังกฤษท าให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถ
เข้าใจชุดค าสั่ง เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานได้ง่ายขึ้นและเป็นภาษาที่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของเครื่อง เนื่องจาก
ภาษาระดับสูงเป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนุษย์ แต่ต้องการตัวแปลค าสั่งให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่งซึ่งมีอยู่ 2
ชนิด คือ
1) คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นการท างานของโปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
จะเป็นการแปลค าสั่งทั้งหมดในโปรแกรมที่เขียนเป็นภาระดับสูงจะแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้เป็น
ภาษาเครื่องหากมีข้อผิดพลาดต้องแก้ไขโปรแกรมให้ถูกต้องก่อนและคอมไพล์ใหม่
2) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) จะท าการแปลชุดค าสั่งที่ละบรรทัด หากพบ
ข้อผิดพลาดในโปรแกรมก็จะแสดงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นบนหน้าจอ เช่น รูปแบบภาษา (Syntax) ผิดพลาด
หรือเกิดจากการค านวณ เช่น ใช้สูตรค านวณผิด เป็นต้น
ตัวอย่างภาระดับสูง เช่น ภาษาโคบอล (Cobol) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก
(Basic) เป็นต้น
1.4 ภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการท างาน ยุคที่ 4 (Fourth-Generation Languages:
4GL) เดิมภาษาระดับสูงเป็นภาษาที่ต้องก าหนดขั้นตอนการท างาน (Procedural) ในบางครั้งต้องเขียน
ชุดค าสั่งของโปรแกรมที่ยาวมากกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ แต่ในภาษายุคที่ 4 เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนด
รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 50