Page 45 - พท21001
P. 45

39

               เรื่องที่ 3 การแตงรอยกรอง

                       คําประพันธ หรือรอยกรอง คือ การเรียงถอยรอยคําตามระเบียบขอบังคับตามฉันทลักษณ

               มีหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท

                                                                                             ื่
                       การแตงกลอน คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกชอตาง ๆ ตาม
               ลักษณะฉันทลักษณที่แตกตางกันนั้น ๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด

                       กลอน สี่

                       กลอน สี่ มี 2 แบบ คือ

                       กลอนสี่ เปนคําประเภทกลอนใน 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคละ 4 คํา

               ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน สี่ ที่เกาที่สุดพบในมหาชาติคําหลวงกัณฑมหาพน

               (สมัยอยุธยา)

                       ตัวอยางกลอนสี่ มี 2 แบบคือ
                       กลอน สี่ แบบ 1 ประกอบดวย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตัวอยางนี้











               การสัมผัสของกลอนสี่จะสัมผัสแบบกลอนทั่วไป คือ คําสุดทาย วรรคหนาสัมผัสกับคําที่สองของ
                                                                                   
               วรรคหลัง และคําสุดทายวรรคที่สองสัมผัสกับคําสุดทายวรรคที่สาม สวนสัมผัสระหวางบทก็

               เชนเดียวกัน คือ คําสุดทายวรรคของบทแรก สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สองของบทถัดไป

                       กลอน สี่ แบบ 2

                       บทหนึ่งประกอบดวย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คํา ตามผังตัวอยาง
















                                                                 
                       สัมผัสนอกในทุกบาท คําสุดทายของวรรคหนา สัมผัสกับคําที่สองของวรรคหลัง มีสัมผัส
               ระหวางบาทที่สองกับสาม คือ คําสุดทายวรรคที่สี่สัมผัสกับคําสุดทายวรรคที่หก สวนสัมผัส
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50