Page 48 - พท21001
P. 48

42

               องคประกอบของการเขียนเรียงความ

                       การเขียนเรียงความประกอบดวย 3 สวนคือ

                       1. คํานํา เปนการเริ่มตนของเรียงความที่เปนสวนดึงดูดใจ ใหผูอานสนใจ

                       2. เนื้อเรื่อง เปนเนื้อหาสาระของเรียงความทั้งเรื่อง

                       3. บทสรุป เปนการสรุปแกนของเรื่อง ไมควรจะยาวมาก
                       3. การเขียนยอความ


                                              ํ
                       การยอความ คือ การนาเรื่องราวตาง ๆ มาเขียนใหมดวยสํานวนภาษาของผูยอเอง
               เมื่อเขียนแลวเนื้อความเดิมจะสั้นลง แตยังมีใจความสําคัญครบถวนสมบูรณ

                                                                                                ํ
                       ใจความสําคัญ คือ ขอความสําคัญในการพูดหรือการเขียนที่เปนรายละเอียด นามาขยาย
               ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น ถาตัดออกผูฟงหรือผูอานก็ยังเขาใจเรื่องนั้นได


               หลักการยอความ


                       1. อานเนื้อเรื่องที่จะยอใหเขาใจ
                       2. จับใจความสําคัญที่จะยอหนา

                       3. นาใจความสําคัญแตละยอหนามาเขียนใหมดวยภาษาของตนเอง โดยตองคํานงถึง
                                                                                                      ึ
                           ํ
                                                      
               สิ่งตาง ๆ ดังนี้
                         3.1 ไมใชอักษรยอในขอความที่ยอ

                         3.2 ถามีราชาศัพท ใหคงไวไมตองแปล

                         3.3 ไมใชเครื่องหมายตาง ๆ ในขอความที่ยอ

                                                                         
                         3.4 เนอเรื่องที่ยอแลว เขียนติดตอกันในยอหนาเดียวควรมีความยาวประมาณ
                                ื้
               1 ใน 4 ของเรื่องเดิม

                       4. การเขียนขาว

                                                                                                     ั
                       การเขียนขาว ประกาศและแจงความ เปนสวนหนงของจดหมายราชการหรือหนงสือ
                                                                        ึ่
                                           
                                                                    
               ราชการ ซึ่งเปนหนงสือที่ใชติดตอกันระหวางเจาหนาที่ของรัฐกับบุคคลภายนอกดวยเรื่อง
                                   ั
               เกี่ยวกับราชการ
                                                                                               ั
                       การเขียนขาว ประกาศ และแจงความ จัดอยูในจดหมายราชการประเภทหนงสือสั่งการ
                                                                                   ี้
               และโฆษณา ซึ่งประกอบดวย ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนา คําชแจง ประกาศ
                                                                            ํ
               แจงความ แถลงการณ และขาว ซึ่งจะยกตัวอยางในการเขียนขาวดังนี้

                       การเขียนขาว คือ บรรดาขอความที่ทางราชการเห็นสมควรเปดเผย เพื่อแจง

               เหตุการณที่นาสนใจใหทราบ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53