Page 46 - พท21001
P. 46

40

                                                        ื่
               ระหวางบทนนจะแตกตางจากแบบแรกเนองจากใหคําสุดทายของบทแรกสัมผัสกับคําสุดทาย
                            ั้
               ของวรรคที่สี่ของบทถัดไป


                       ตัวอยางกลอนสี่

                              ดวงจันทรวันเพ็ญ             ลอยเดนบนฟา

                       แสงนวลเย็นตา                        พาใจหฤหรรษ
                       ชักชวนเพื่อนยา                      มาเลนรวมกัน

                       เด็กนอยสุขสันต                    บันเทิงเริงใจ


               กลอนแปด (กลอนสุภาพ)

                                                                                                     ิ
                       กลอนแปด เปนคําประพันธที่ไดรับความนยมกันทั่วไป เพราะเปนรอยกรองชนดที่มี
                                                                 ิ
               ความเรียบงายตอการสื่อความหมาย และสามารถสื่อไดอยางไพเราะ ซึ่งกลอนแปดมีการ

               กําหนดพยางคและสัมผัส

               ลักษณะคําประพันธของกลอนแปด

               1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค

                       วรรคที่หนึ่งเรียกวาวรรคสดับ        วรรคที่สองเรียกวรรครับ

                       วรรคที่สามเรียกวรรครอง              วรรคที่สี่เรียกวรรคสง

                       แตละวรรคมีแปดคํา จึงเรียกวากลอนแปด
               2. เสียงคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงทายวรรคเปนสําคัญโดยกําหนด ดังนี้


                       คําทายวรรคสดับ                     กําหนดใหใชไดทุกเสียง
                       คําทายวรรครับ                      กําหนดหามใชเสียงสามัญและตรี

                       คําทายวรรครอง                      กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี

                       คําทายวรรคสง                      กําหนดใหใชไดเฉพาะเสียงสามัญและตรี

               3. สัมผัส

                  ก. สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหวางวรรค เปนสัมผัสบังคับมีดังนี้

                                                ึ่
                       คําสุดทายของวรรคที่หนง (วรรคสดับ) สัมผัสกับคําที่สามหรือที่หาของวรรคที่สอง
               (วรรครับ)

                       คําสุดทายของวรรคที่สอง (วรรครับ) สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม (วรรครอง) และ

               คําที่สามหรือคําที่หาของวรรคที่สี่ (วรรคสง)

                       สัมผัสระหวางบท ของกลอนแปด คือ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51