Page 15 - 5ภาษาไทย พท11001.indd
P. 15

10                                                                                                          11

 กิจกรรมทายบทที่  2                                          บทที่ 3

                                                              การอาน
 กิจกรรม   ใหผูเรียนแบงกลุมเพื่อเตรียมการพูดในโอกาสตางๆ ดังนี้ (5 คะแนน)


    1.  การพูดอวยพร   เรื่องที่ 1 หลักการ ความสําคัญ และจุดมุงหมายของการอาน

                            1.1 หลักการอาน
    2.  การพูดขอบคุณ
                                   การอานออกเสียงคํา เปนการแสดงความหมายของคําไปสูผูอานและผูฟง เพื่อให


    3.  การพูดแสดงความดีใจและเสียใจ   เกิดความเขาใจกันในการอานคําในภาษาไทยมีปญหาอยูมาก เพราะนอกจากคําไทยแลวยังมี
                     ภาษาตางประเทศปนอยูหลายภาษา คําบางคําอานอยางภาษาไทย บางคําอานตามลักษณะของ
    4.  การพูดตอนรับ   ภาษาเดิม การอานคําในภาษาไทยจึงตองศึกษาหลักเกณฑและเหตุผลประกอบเปนคําไป มี


                     หลักการอานดังนี้
    5.  การพูดรายงาน
                                   1. การอาน  ร  ล

    6.  การกลาวอําลา              ตองอานตัว  ร และ  ล  ใหถูกตอง ไมอาน  ร  เปน  ล  หรือ  ล  เปน  ร  เพราะ

                     ถาอานผิดก็จะทําใหความหมายผิดไป เชน

                                   ถ  น  น  ลาดยาว       กวยเตี๋ยวราดหนา

                                   เ  ข  า  ลอดบวง      เขารอดชีวิต

                                   เธอเปนโรคราย        โลกนี้คือละคร

                                   2. การอานคําควบกล้ํา

                                           คําควบกล้ํา (อักษรควบ) หมายถึง พยัญชนะสองตัวเขียนเรียงกันอยู

                     ตนพยางคและใชสระเดียวกัน เวลาอานออกเสียงกล้ําเปนพยางคเดียวกัน เสียงวรรณยุกตของ

                     พยางคนั้นจะผันไปตามเสียงพยัญชนะตัวหนา คือ เสียงพยัญชนะตน  ก  ข  ค  ต  ป  ผ  พ  ที่

                     เขียนควบพยัญชนะ  ร  ล  ว  ออกเสียงควบกล้ํากัน เชน  โกรธ  กรอง  ปลา  กลม  กล้ํา  กวาง

                     แกวง  ขวาง

                            1.2 ความสําคัญของการอาน
                                   ชีวิตของแตละคนยอมตองเกี่ยวของผูกพันกับสังคม คือ กลุมคนอยางหลีกเลี่ยง


                     ไมได ไมมีใครที่จะอยูไดโดยปราศจากสังคม และการอยูรวมกับคนอื่น ซึ่งจะตองมีความเขาใจ

                     ซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนความรู ความคิด ความเขาใจ เพื่อใหสังคมเกิดความสงบสุขและ

                     พัฒนาไปขางหนาอยางแทจริง ดังนั้นการติดตอสื่อสารจึงเขามาเปนสวนสําคัญในการเชื่อมโยง

                     มนุษยทุกคนเขาดวยกัน สามารถทํากระทั่งการพบปะสื่อสารดวยการสนทนาและอานขอเขียน






                                                                              ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา  :  พท11001   15
                                                                                         ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20