Page 16 - 5ภาษาไทย พท11001.indd
P. 16

12

              ของกันและกัน สําหรับสังคมปจจุบันจึงเปนสังคมใหญที่เจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

              การติดตอกันโดยวิธีพบปะสนทนายอมเปนไปไดในวงจํากัด ดังนั้น การสื่อสารกันโดยการอานจึงมี

              ความสําคัญมาก นอกจากนั้นผูอานจํานวนมากยังตองการอาน และแสวงหาความรูและความ

              บันเทิงจากหนังสืออีกดวย

                     1.3 จุดมุงหมายของการอาน มีดังนี้

                             1. อานเพื่อความรู ไดแก การอานจากหนังสือ ตําราทางวิชาการ สารคดีทาง
              วิชาการ การวิจัยประเภทตาง ๆ ผูเรียนควรอานอยางหลากหลาย เพราะความรูในวิชาหนึ่งอาจ


              นําไปชวยเสริมในอีกวิชาหนึ่งได
                             2. อานเพื่อความบันเทิง ไดแก การอานจากหนังสือประเภทสารคดีทองเที่ยว

              นวนิยาย เรื่องสั้น การตูน

                     1.4 การอานออกเสียงและอานในใจ

                             การออกเสียงเปนการอานใหมีเสียงดัง เปนการอานเพื่อสื่อสารใหผูฟงไดเขาใจ

              เรื่องที่อานหรือเปนการฝกการอานออกเสียงดวย ซึ่งมีวิธีการอานออกเสียง ดังนี้

                             1. การอานออกเสียงพยัญชนะ เชน  ช  ซ  ร  ล  เปนตน

                             2. การอานออกเสียงควบกล้ํา  ร  ล  ว

                             3. การอานออกเสียงวรรณยุกต ไดแก เสียงสามัญ เสียงเอก (    ) เสียงโท (    )

              เสียงตรี (    ) เสียงจัตวา (    ) เชน คําวา  จา  จา  จา  จา  จา ,  ไก  ไก  ไก  ไก  ไก

                             4. การอานออกเสียงคําพองรูป หมายถึง คําที่เขียนเหมือนกันแตอานตางกัน

              ความหมายก็ตางกัน ผูเรียนจะตองเขาใจความหมายของคําที่อานและตองอาศัยการตีความจาก

              ความหมายในประโยคดวย เชน

                             เพลาเกวียนหัก  เมื่อเพลาเชา

                             เพลา คําแรกอาน   พอ - ลอ  - เอา    เพลา คําหลัง อานวา  เพ - ลา

                             เขาหวงแหน  จอกแหนในบอน้ํา

                             แหน คําแรกอาน   หอ - แอ  - นอ    แหน คําหลัง อานวา  หอ - นอ - แอ

                             5. การอานออกเสียงตัวการันต เมื่ออานคําที่มีตัวการันตไมตองออกเสียงตัวการันต

              นั้น เชน จันทร  อานวา  จัน  รักษ  อานวา  รัก  อาจารย  อานวา  อา - จาน

                             6. การอานออกเสียงเวนวรรคตอน การอานเวนวรรคตอนเปนสิ่งสําคัญในการอาน

              คําอานเวนวรรคผิด ความหมายก็ผิดไปดวย เชน  น้ําเย็นหมดแลว  อานวา  น้ํา  เย็นหมดแลว

              หมายความวา น้ําที่รอนอยูเย็นหมดแลว หรือ น้ําเย็น หมดแลว  หมายความวา น้ําเย็น หมดแลว




             16   ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา  :  พท11001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21