Page 38 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 38
30
รัชกาลที่ 3
วงปพาทยไดพัฒนาขึ้นเปนวงปพาทยเครื่องคู เพราะไดมีการประดิษฐระนาดทุม มาคู
กับระนาดเอก และประดิษฐฆองวงเล็กมาคูกับ ฆองวงใหญ
รัชกาลที่ 4
วงปพาทยไดพัฒนาขึ้นเปนวงปพาทยเครื่องใหญ ไดมีการประดิษฐเครื่องดนตรี เพิ่มขึ้น
2 ชนิด เรียกวา ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุมเหล็ก นํามาบรรเลงเพิ่มในวงปพาทยเครื่องคู
ทําใหขนาดของวงปพาทยขยายใหญขึ้น จึงเรียกวา วงปพาทยเครื่องใหญ เพลงเถาเกิดขึ้น
มากมายในสมัยนี้ นอกจากนี้วงเครื่องสาย ก็เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เชนกัน
รัชกาลที่ 5
ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นใหม เรียกวา “วงปพาทยดึกดําบรรพ” ใชบรรเลง
ประกอบการแสดง “ละครดึกดําบรรพ” วงปพาทยดึกดําบรรพ ประกอบดวยระนาดเอก
ฆองวงใหญ ระนาดทุม ระนาดทุมเหล็ก ขลุย ซออู ฆองหุย (ฆอง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน
และเครื่องกํากับจังหวะ
รัชกาลที่ 6
มีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้น โดยนําวงดนตรีของมอญมาผสมกับวงปพาทยของไทย
เรียกวา “วงปพาทยมอญ” โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เปนผูปรับปรุงขึ้น วงป
พาทยมอญดังกลาวนี้ ก็มีทั้งวงปพาทยมอญเครื่องหา เครื่องคู และเครื่องใหญ เชนเดียวกับวงป
พาทยของไทย และกลายเปนที่นิยมใชบรรเลงประโคมในงานศพ มาจนกระทั่งบัดนี้ รูปแบบของวง
ดนตรีไทยเปลี่ยนแปลงพัฒนา ดังนี้คือ
1. การนําเครื่องดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คือ “อังกะลุง” มาเผยแพรในเมืองไทย
เปนครั้งแรก โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) นํามาดัดแปลง ปรับปรุงขึ้นใหมใหมี
เสียงครบ 7 เสียง (เดิมมี 5 เสียง) ปรับปรุงวิธีการเลน โดยถือเขยาคนละ 2 เสียง ทําให
กลายเปนเครื่องดนตรีไทยอีกอยางหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทําอังกะลุงไดเอง อีกทั้งวิธีการ
บรรเลงก็เปนแบบเฉพาะของเราแตกตางไปจากของชวาโดยสิ้นเชิง
2. การนําเครื่องดนตรีของตางชาติเขามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสาย ไดแก ขิมของจีน
และออรแกนของฝรั่ง ทําใหวงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอีกลักษณะหนึ่ง คือ
“วงเครื่องสายผสม”
38 ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21003
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์