Page 42 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 42

34


                        จะเข

                        เปนเครื่องดนตรีประเภทดีด มี 3 สาย นํามาวางดีดกับพื้น บรรเลงอยูในวงมโหรีคูกับ

                กระจับป ตัวจะเขทําเปนสองตอน คือตอนหัว และตอนหาง ตอนหัวเปนกระพุงใหญ ทําดวย

                ไมแกนขนุน ทอนหัวและทอนหางขุดเปนโพรงตลอด ปดใตทองดวยแผนไม มีเทารองตอนหัว

                4 เทา และตอนปลายอีก 1 เทา ทําหนังนูนตรงกลาง ใหสองขางลาดลง โยงสายจากตอนหัวไป

                ทางตอนหางเปน 3 สาย มีลูกบิดประจําสายละ 1 อัน สาย 1 ใชสายลวดทองเหลือง อีก 2

                สายใชเสนเอ็น เวลาบรรเลงใชดีดดวยไมดีดกลมปลายแหลมทําดวยงาชาง หรือกระดูกสัตว

                เคียนดวยเสนดายสําหรับพันติดกับปลายนิ้วชี้ขางขวาของผูดีด และใชนิ้วหัวแมมือ กับนิ้วกลาง

                ชวยจับใหมีกําลังเวลาแกวงมือสายไปมา ใหสัมพันธกับมือขางซายขณะกดสายดวย



                        ซึง
                        เปนเครื่องดนตรีชนิดดีด มี 4 สายเชนเดียวกับกระจับป แตมีขนาดเล็กกวา กะโหลกมี


                รูปรางกลม ทั้งกะโหลกและคันทวน ใชไมเนื้อแข็งชิ้นเดียวควาน ตอนที่เปนกะโหลกใหเปน
                โพรง ตัดแผนไมใหกลม แลวเจาะรูตรงกลางทําเปนฝาปดดานหนาเพื่ออุมเสียงใหกังวาน คัน

                ทวนทําเปนเหลี่ยมแบนตอนหนาเพื่อติดตะพาน หรือนมรับนิ้วจํานวน 9 อัน ตอนปลายคัน

                ทวนทําเปนรูปโคง และขดใหเปนรอง เจาะรูสอดลูกบิดขางละ 2 อัน รวมเปน 4 อัน สอดเขา

                ไปในรอง สําหรับขึ้นสาย 4 สาย สายของซึงใชสายลวดขนาดเล็ก 2 สาย และสายใหญ 2 สาย

                ซึ่งเปนเครื่องดีดที่ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมนํามาเลนรวมกับปซอ และสะลอ



                2.  เครื่องดนตรีไทยประเภท เครื่องสี

                        เครื่องสี เปนเครื่องสายที่ทําใหเกิดเสียงดวยการใชคันชักสีเขากับสาย โดยมากเรียกวา

                “ซอ” เครื่องสีที่นิยมเลน ไดแก

                        ซอดวง

                        เปนซอสองสาย กะโหลกของซอดวงนั้นเดิมใชกระบอกไมไผ ปจจุบันใชไมจริง หรือ

                งาชางทําก็ได แตที่นิยมทําดวยไมลําเจียก สวนหนาซอนิยมใชหนังงูเหลือมขึง ดานมือจับมี

                หมุดสําหรับใหเสนหางมาคลอง อีกดานหนึ่งเจาะรูไวรอยเสนหางมา สอดเสนหางมาใหอยู

                ภายในระหวางสายเอกกับสายทุมสําหรับสี การเทียบเสียง เทียบเสียงใหตรงกับเสียงขลุย

                เพียงออ เหตุที่เรียกวา ซอดวงก็เพราะมีรูปรางคลายเครื่องดักสัตว กระบอกไมไผเหมือนกัน





             42   ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47