Page 44 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 44
36
การสีซอ
วางคันสีใหชิดดานใน ใหอยูในลักษณะเตรียมชักออก แลวลากคันสีออกชา ๆ ดวยการ
ใชวิธีสีออก ลากคันสีใหสุด แลวเปลี่ยนเปนสีเขาในสายเดียวกัน ทําเรื่อยไปจนกวาจะคลอง
พอคลองดีแลว ใหเปลี่ยนมาเปนสีสายเอก โดยดันนิ้วนางกับนิ้วกอยออกไปเล็กนอย ซอจะ
เปลี่ยนเปนเสียง ซอล ทันที ดังนี้คันสี ออก เขา ออก เขา เสียง โด โด ซอล ซอล ฝกเรื่อยไป
จนเกิดความชํานาญ
ขอควรระวัง ตองวางซอใหตรง โดยใชมือซายจับซอใหพอเหมาะ อยาใหแนนเกินไป อยาให
หลวมจนเกินไป ขอมือที่จับซอตองทอดลงไปใหพอดี ขณะนั่งสียืดอกพอสมควร อยาใหหลัง
โกงได มือที่คีบซอใหออกกําลังพอสมควรอยาใหซอพลิกไปมา
3. เครื่องดนตรีไทยประเภท เครื่องตี
เครื่องตีแยกไดเปน 3 ประเภทตามหนาที่ในการเลน คือ
1. เครื่องตีที่ทําจังหวะ หมายถึง เครื่องตีที่เมื่อตีแลวจะกลายเปนเสียงที่คุมจังหวะกา
เลนของเพลงนั้น ๆ ตลอดทั้งเพลง ไดแก ฉิ่ง และฉับ ถือเปนหัวใจของการบรรเลง
2. เครื่องตีที่ประกอบจังหวะมีหลายอยาง เชน กลองแขก กลองทัด ตะโพนไทย
ตะโพนมอญ ฉาบใหญ ฉาบเล็ก กรับ โหมง เปงมางคอก กลองตุก ฯลฯ
3. เครื่องตีที่ทําใหเกิดทํานอง ไดแก ฆองไทยวงใหญ ฆองไทยวงเล็ก ฆองมอญวงใหญ
ฆองมอญวงเล็ก ระนาดเอก ระนาดทุม ขิม อังกะลุง (บรรเลงเปนวง)
ตัวอยางของเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องตี ไดแก
กรับพวง
ทําดวยไม หรือโลหะ ลักษณะเปนแผนบางหลายแผนรอยเขาดวยกัน ใชไมหนาสองชิ้น
ประกับไว วิธีตี ใชมือหนึ่งถือกรับ แลวตีกรับลงไปบนอีกมือหนึ่งที่รองรับ ทําใหเกิดเสียง
กระทบจากแผนไม หรือแผนโลหะดังกลาว
44 ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21003
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์