Page 48 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 48
40
ป
เปนเครื่องดนตรีไทยแท ๆ ทําดวยไมจริง กลึงใหเปนรูปบนหัวบานทาย ตรงกลางปอง
เจาะภายในใหกลวงตลอดเวลา ทางหัวของปเปนชองรูเล็ก สวนทางปลายของปปากรูใหญ
สวนหัวเรียก “ทวนบน” สวนทายเรียก “ทวนลาง” ตอนกลางของปเจาะรูนิ้วสําหรับเปลี่ยน
เสียงลงมาจํานวน 6 รู รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เจาะรูลางอีก 2 รู ตรงทวนบนใสลิ้นปที่
ทําดวยใบตาลซอนกัน 4 ชั้น ตัดใหกลมแลวนําไปผูกติดกับทอลมเล็ก ๆ ที่เรียกวา “กําพวด”
กําพวดนี้ทําดวยทองเหลือง เงิน นาค หรือโลหะ การผูกใชวิธีผูกที่เรียกวา “ผูกตะกรุดเบ็ด”
ปของไทยจัดไดเปน 3 ชนิด ดังนี้
1. ปนอก มีขนาดเล็ก เปนปที่ใชกันมาแตเดิม
2. ปกลาง มีขนาดกลาง สําหรับเลนประกอบการแสดงหนังใหญ มีสําเนียงเสียงอยู
ระหวางปนอกกับปใน
3. ปใน มีขนาดใหญ เปนปที่พระอภัยมณีใชสําหรับเปาใหนางผีเสื้อสมุทร
วงดนตรีไทย แบงเปนกี่ประเภท อะไรบาง
1. วงเครื่องสาย มี 4 แบบ คือ วงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยว, วงเครื่องสายไทยเครื่อง
คู, วงเครื่องสายผสม และวงเครื่องสายปชวา
2. วงมโหรี ประกอบดวยเครื่องดนตรีผสม ทั้ง ดีด สี ตี เปา เปนวงดนตรีที่ใชบรรเลง
เพื่อขับกลอม ไมนิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ วงมโหรีมี 5 แบบ คือ 1) วงมโหรีเครื่องสี
2) วงมโหรีเครื่องหก 3) วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือวงมโหรีเครื่องเล็ก 4) วงมโหรีเครื่องคู
และ 5) วงมโหรีเครื่องใหญ
3. วงปพาทย ประกอบดวยเครื่องดนตรีประเภท ตี เปา และเครื่องประกอบจังหวะ
ใชบรรเลงในงานพระราชพิธี และพิธีตาง ๆ แบงตามขนาดไดดังนี้
3.1 วงปพาทยเครื่องสิบ
3.2 วงปพาทยเครื่องหา แบงเปน 2 ชนิด คือ ปพาทยเครื่องหาอยางหนัก
และปพาทยเครื่องหาอยางเบา
3.3 วงปพาทยเครื่องคู
3.4 วงปพาทยเครื่องใหญ
นอกจากนี้วงปพาทยยังมีอีก 3 ประเภทใหญ ๆ คือ วงปพาทยนางหงส วงปพาทย
มอญ วงปพาทยดึกดําบรรพ
48 ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21003
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์