Page 50 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 50

42


                 สานไมใน อาถรรพ พราหมณเขาโบสถ ธรณีรองไห มอญรองไห เปนตน มีความสามารถ

                 ในทางดนตรีอยางมากโดยเฉพาะเรื่องขลุย



                        ครูบุญยงค  เกตุคง  ไดเปนหัวหนาวงดนตรีไทยกรุงเทพมหานครจนเกษียณอายุ เปน

                 ผูมีความเชี่ยวชาญในทางดนตรีอยางยิ่ง บรรเลงปพาทยไดทุกชนิด โดยเฉพาะระนาดเอกซึ่ง

                 ไดรับการยกยองเปนพิเศษ ไดแตงเพลงไวจํานวนมาก  เชน  โหมโรงแวนเทียนชัย   โหมโรง

                 จุฬามณี   โหมโรงสามสถาบัน  เพลงเทพชาตรี เถา  เพลงสรอยลําปาง เถา  เพลงวัฒนา

                 เวียตนาม เถา   เพลงชเวดากอง เถา  เพลงสยามานุสสติ เถา  เพลงนกกระจอกทอง เถา

                 เพลงขอมกลอมลูก เถา  เพลงเดือนหงายกลางปา เถา และเพลงตระนาฏราช



                        พระองคเจาเพ็ญพัฒนพงศ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม
                 ประสูติเมื่อวันที่  13 กันยายน พ.ศ. 2425 ไดทรงแตงเพลง “ลาวดวงเดือน”



                        ครูทองดี  สุจริตกุล  เกิดเมื่อวันที่  8  พฤษภาคม  พ.ศ.  2455  จังหวัดราชบุรี

                 มีความสามารถโดดเดนในการเลนจะเข  เคยเดี่ยวจะเขถวายหนาพระที่นั่ง  และเคยอัด

                 แผนเสียงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พ.ศ. 2498  เริ่มเปนครู

                 สอนในวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร ทําหนาที่สอนจะเข ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติ

                 เปนผูมีผลงานดีเดนทางวัฒนธรรมสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจําป พ.ศ. 2538





                        หลวงประดิษฐไพเพราะ (ศร ศิลปบรรเลง)  ไดแตงเพลงไวเปนจํานวนรอย ๆ เพลง

                 และมีชนิดที่ทําแนวทางบรรเลงเปลี่ยนไปจากของเกา  เรียกวา  “ทางเปลี่ยน”  และเปนผู

                 ประดิษฐเครื่องดนตรี “อังกะลุง”















             50   ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003
                   ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55