Page 46 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 46

38




                        กลองชนะ

                        รูปรางเหมือนกลองแขกแตสั้นกวา หนาหนึ่งใหญ อีกหนาหนึ่งเล็ก ใชตีดวยไมงอ ๆ

                หรือหวาย ทางดานหนาใหญ เดิมกลองชนะนาจะใชในกองทัพ หรือในการสงคราม ตอมาใช

                เปนเครื่องประโคมในกระบวนพยุหยาตรา และใชประโคมพระบรมศพ พระศพ และศพ ตาม

                เกียรติยศของงาน



                        กลองยาว

                        หุนกลองทําดวยไม ตอนหนาใหญ ตอนทายเรียวแลวบานปลายเปนรูปดอกลําโพงมี

                หลายขนาด ขึ้นหนังหนาเดียว ตัวกลางนิยมตบแตงใหสวยงามดวยผาสี หรือผาดอกเย็บจีบยน

                ปลอยเชิงเปนระบายหอยมาปกดวยกลอง มีสายสะพายสําหรับคลองสะพายบา ใชตีดวยฝามือ
                แตการเลนโลดโผน อาจใชสวนอื่น ๆ ของรางกายตีก็มี กลองยาวไดแบบอยางมาจากพมา


                นิยมเลนในงานพิธีขบวนแห กลองชนิดนี้เรียกชื่อตามเสียงที่ตีไดอีกชื่อหนึ่งวา “กลองเถิดเทิง”


                        ตะโพน

                        ทําดวยไมเนื้อแข็ง ขุดแตงใหเปนโพรงภายใน ขึ้นหนังสองหนา ตรงกลางปอง และ

                สอบไปทางหนาทั้งสอง หนาหนึ่งใหญเรียกวา “หนาเทิ่ง” หรือ “หนาเทง” ปกติอยูดาน

                ขวามือ อีกหนาหนึ่งเล็ก เรียกวา “หนามัด” ใชสายหนังเรียกวา “หนังเรียด” โยงเรงเสียง

                ระหวางหนาทั้งสอง ตรองรอบขอบหนังขึ้นหนาทั้งสองขาง ถักดวยหนังตีเกลียวเปนเสนเล็ก ๆ

                เรียกวา “ไสละมาน” สําหรับใชรอยหนังเรียด โยงไปโดยรอบจนหุมไมหุนไวหมด ตอนกลาง

                หุนใชหนังเรียดพันโดยรอบเรียกวา “รัดอก” หัวตะโพนวางนอนอยูบนเทาที่ทําดวยไม ใชฝา

                มือซาย - ขวาตีทั้งสองหนา



                        ฆอง

                        ทําดวยโลหะแผนรูปวงกลม ตรงกลางทําเปนปุมนูน เพื่อใชรองรับการตีใหเกิดเสียง

                เรียกวา ปุมฆอง ตอจากปุมเปนฐานแผออกไป แลวงองุมลงมาโดยรอบเรียกวา “ฉัตร” สวนที่

                เปนพื้นราบรอบปุมเรียกวา “หลังฉัตร” หรือ “ชานฉัตร” สวนที่งอเปนของเรียกวา “ใบฉัตร”

                ที่ใบฉัตรนี้จะมีรูเจาะสําหรับรอยเชือก หรือหนังเพื่อแขวนฆอง ถาแขวนตีทางตั้งจะเจาะสองรู

                ถาแขวนตีทางนอนจะเจาะสี่รู การบรรเลงฆองใชในการบรรเลงไดสองลักษณะคือ ใชตีกํากับ



             46   ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51