Page 78 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 78

70


                                                    บทที่ 4

                                              นาฏศิลปไทยกับการประกอบอาชีพ



                เรื่องที่ 4.1   แนวทางการนํานาฏศิลปไทยไปใชในการประกอบอาชีพ



                นาฏศิลปไทยมีแนวทางในการประกอบอาชีพอยางไร

                        แนวทางในการประกอบอาชีพนาฏศิลปไทย    ไดแก  อาชีพการละเลนพื้นเมืองของ

                แตละภาค เชน

                        1.  อาชีพการแสดงหนังตะลุง

                        2.  อาชีพการแสดงลิเก

                        3.  อาชีพการแสดงหมอลํา



                เรื่องที่ 4.2  อาชีพการแสดงหนังตะลุง


                อาชีพการแสดงหนังตะลุงมีขั้นตอนอยางไร

                        ขั้นตอนการแสดงหนังตะลุง มีการลําดับการเลน ดังนี้

                        1. ตั้งเครื่องเบิกโรง เปนการทําพิธีเอาฤกษ ขอที่ตั้งโรงและปดเปาเสนียดจัญไร เริ่ม

                โดยเมื่อคณะหนังขึ้นโรงแลวนายหนังจะตีกลองนําเอาฤกษ ลูกคูบรรเลงเพลงเชิด ชั้นนี้เรียกวา

                ตั้งเครื่อง

                        2. โหมโรง การโหมโรงเปนการบรรเลงดนตรีลวน ๆ เพื่อเรียกคนดู และใหนายหนังได

                เตรียมพรอม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมที่เลากันวาใช “เพลงทับ” คือใชทับเปนตัวยืนและ

                เดินจังหวะทํานองตาง ๆ กันไป

                        3. ออกลิงหัวค่ํา เปนธรรมเนียมการเลนหนังตะลุงสมัยกอน ปจจุบันเลิกเลนแลว

                เขาใจวาไดรับอิทธิพลจากหนังใหญ เพราะรูปที่ใชสวนใหญเปนรูปจับ มีฤาษีอยูกลาง ลิงขาว

                กับลิงดําอยูคนละขาง แตรูปที่แยกเปนรูปเดี่ยวๆ 3 รูป แบบเดียวกับของหนังตะลุงก็มี

                        4. ออกฤาษี เปนการเลนเพื่อคารวะครู และปดเปาเสนียดจัญไร โดยขออํานาจจาก

                พระพรหม พระอิศวร พระนารายณ และเทวะอื่น ๆ และบางหนังยังขออํานาจจากพระ

                รัตนตรัยดวย






             78   ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83