Page 54 - ห้องสมุด
P. 54
54 | ห น้ า
เรื่องที่ 2 ความหมายและหนาที่ของคํา กลุมคํา และประโยค
คํา หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาแลวมีความหมาย จะมีกี่พยางคก็ได เชน ไก ขนม นาฬิกา
เปนตน
พยางค หมายถึง เสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่ง จะมีความหมายหรือไมมีก็ได เสียงที่เปลงออกมา
1 ครั้งก็นับวา 1 พยางค เชน นาฬิกา มี 3 พยางค แตมี 1 คํา แมน้ํา มี 2 พยางค แตมี 1 คํา มี
ความหมายวา ลําน้ําใหญ ซึ่งเปนที่รวมของลําธารทั้งปวง
ชนิดของคํา คําที่ใชในภาษาไทยมี 7 ชนิด คือ คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ
คําบุพบท คําสันธาน และคําอุทาน ซึ่งคําแตละชนิดมีหนาที่แตกตางกันดังนี้
1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อคน สัตว สิ่งของ สถานที่และคําที่บอก กิริยาอาการหรือลักษณะ
ตางๆ ทําหนาที่เปนประธานหรือกรรมของประโยค
ตัวอยาง
คําที่ใชเรียกชื่อ เรียกชื่อสัตว = แมว ชาง หมู
ทั่วไป เรียกชื่อสิ่งของ = ดินสอ พัดลม โตะ
คําที่ใชเรียกชื่อ
เรียกชื่อสถานที่ = โรงเรียน กรุงเทพมหานคร
เฉพาะบุคคล
เรียกชื่อคน = สมศักดิ์ พรทิพย
หรือสถานที่
คําที่ใชแสดง
การรวมกันเปน บอกหมวดหมู = ฝูง กรม กอง โขลง
หมวดหมู
คําที่ใชบอกอาการ
บอกอาการหรือบอก = จะมีคําวา “การ” และ “ความ”
หรือคุณลักษณะที่
คุณลักษณะที่ไมมีตัวตน นําหนาคํากริยา เชน ความสุข
ไมมีตัวตน
คําที่บอก นามที่ใชตามนามอื่น ๆ = นาฬิกา 1 เรือน
ลักษณะ เพื่อบอกลักษณะของ วัว 3 ตัว บาน 3 หลัง