Page 66 - คำวินิจฉัยศาลปกครองด้านพัสดุ
P. 66
๕๔
๑.๑ เป็นการใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐ ดังนี้
๑) ส่วนราชการ (ซึ่งข้อ ๕ ของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้ให้ค านิยามไว้ว่า ส่วนราชการหมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส านักงาน
หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค หรือในต่างประเทศ แต่ไม่รวมถึง
รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น)
๒) รัฐวิสาหกิจ
๓) องค์การมหาชน
๔) หน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในสังกัด การบังคับบัญชา หรือการก ากับดูแล
่
ของฝายบริหาร
๑.๒ เป็นการใช้บังคับกับการจัดหาพัสดุที่มีมูลค่าสองล้านบาทขึ้นไป
๑.๓ ใช้กับการซื้อหรือจ้าง ไม่รวมถึงการจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ
และควบคุมงาน การซื้อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษและวิธีกรณีพิเศษ
จะเห็นได้ว่าขอบเขตการใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ กว้างกว่าระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย
การพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ เนื่องจากระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุฯ ใช้บังคับกับ
ส่วนราชการ (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และในต่างประเทศ) เท่านั้น ในขณะที่ระเบียบ
ส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ นอกจากจะใช้บังคับกับ
ส่วนราชการแล้ว ยังใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่
่
ในสังกัด การบังคับบัญชา หรือการก ากับดูแลของฝายบริหารอีกด้วย
๒. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
การด าเนินการเกี่ยวกับการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์มีบุคคลและ
คณะบุคคลต่างๆ เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละขั้นตอนแตกต่างกันออกไปตามที่ระเบียบก าหนดไว้
ซึ่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ส าคัญๆ มีดังนี้
๒.๑ คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ ๖ ของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ฯ ก าหนดให้มีคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
เรียกโดยย่อว่า “กวพ.อ.”’ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธานกรรมการ
ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นรองประธานกรรมการ อัยการสูงสุด