Page 73 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 73

ห น า  | 73



                         3.2  การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติและเสียงตางๆการนําเสียงที่ไดยินจากะรรมชาติมาร
               อยกรองพรรณนาใหเกิดความรูสึกเหมือนไดยินภาพทําใหเกิดความไพเราะนาฟงและสะเทือนอารมณ เช

               น


                         ครืนครืนใชฟารอง             เรียมครวญ
                       หึ่งหึ่งใชลมหวน                 พี่ให

                       ฝนตกใชฝนนวล                     พี่ทอด ใจนา

                       รอนใชรอนไฟไหม                ที่รอนกลกาม
                                         (ตํานานศรีปราชญ ของพระยาปริยัติธรรมธาดา)


               คําวา “ครืนครืน” เปนการเลียนเสียงฟารอง

               คําวา “หึ่งหึ่ง” เปนการเลียนเสียงลมพัด

                         3.3  การเลนคํา หมายถึง การนําคําพองรูปพองเสียงมาเรียบเรียงหรือรอยกรองเขาดวยกันจะ
               ทําใหเกิดเสียงไพเราะและเพิ่มความงดงามทางภาษาเชน


                                   ปลาสรอยลอยลองชล            วายเวียนวนปนกันไป
                               เหมือนสรอยทรงทรามวัย            ไมเห็นเจาเศราบวาย


               คําวา “สรอย” คําแรกเปนชี่อปลา

               คําวา “สรอย” คําหลังหมายถึงสรอยคอ

                         3.4  การใชคําอัพภาส หมายถึง คําซ้ําชนิดหนึ่ง โดยใชพยัญชนะซ้ําเขาไปขางหนาคํา เชน
               ริก เปน ระริก ยิ้ม เปน ยะยิ้ม แยม เปน ยะแยม

                       การใชคําอัพภาสหลายๆ  คําในที่ใกลกัน  ทําใหแลเห็นภาพและเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ

               ตามไปดวย เชน สาดเปนไฟยะแยง แผลงเปนพิษยะยุง พุงหอกใหญ คะควางขวางหอกซัดคะไขว
                                                        (ลิลิตตะเลงพาย)

                         3.5  การใชโวหารภาพพจน โวหารภาพพจน หมายถึง ถอยคําที่เรียบเรียงโดยไมกลาวอยาง

               ตรงไปตรงมา  ผูประพันธมีเจตนาจะใหผูอานเขาใจ  และประทับใจยิ่งขึ้นกวาการชําคําบอกเลาธรรมดา

               การใชโวหารภาพพจนอาจทําไดหลายวิธี เชน
                               3.5.1 เปรียบสิ่งหนึ่งวาเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ในการเปรียบเทียบนี้จะมีคําแสดงความหมาย

               อยางเดียวกับคําวาเหมือน ปรากฏอยูดวย ไดแกคําวา เปรียบเหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดุจดัง ราวเพียง เช

               น
                               คุณแมหนาหนักเพี้ยง      พสุธา (เพี้ยง-โทโทษ มาจากคําวาเพียง)

                               คุณบิดรดุจอา                     กาศกวาง
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78