Page 70 - ภาษาไทย ม.ปลาย31001
P. 70

70 | ห น า




















               เรื่องที่ 5  หลักการวิจารณวรรณกรรม

                       เมื่อกลาวถึงวรรณกรรมยอมเปนที่เขาใจกันทั่วไปวา  หมายถึงงานเขียนดานตางๆ ในรูปของบท

               ละคร สารคดี  เรื่องสั้น  นวนิยาย  และกวีนิพนธซึ่งมีมาตั้งแตโบราณแลวทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง
                       ลักษณะของวรรณกรรม

                       1.  วรรณกรรมเปนงานประพันธที่แสดงความรูสึกนึกคิด โดยทั่วไปมนุษยจะพูดหรือเขียนแลว

               จะสงความรูสึกนึกคิด    อยางใดอยางหนึ่ง    เชน   ฝนตก      ตนไมสีเขียว   ความรูสึก
               จะสัมผัสไดทางกายและใจ  เชน รูสึกหนาว รูสึกรอน เปนตน  สวนความคิดคือสิ่งที่เกิดจากใชสติปญญา

               ใครครวญเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบอารมณ

                       2.  วรรณกรรมเปนงานประพันธที่เกิดจากจินตนาการ  เปนการสรางภาพขึ้นในจิตใจ  จากสิ่งที่เคย
               พบเคยเห็นในชีวิต  สิ่งที่สรางสรรคขึ้นมาจากจินตนาการออกจะมีเคาความจริงอยูบาง

                       3.  วรรณกรรมเปนงานประพันธใชภาษาวรรณศิลป เชน คําวาใจกวางเหมือนแมน้ํา หรือ หิมะ

               ขาวเหมือนสําลี  เปนตน

                       ประเภทของวรรณกรรม
                       ในปจจุบันวรรณกรรมแบงประเภทโดยดูจากรูปแบบการแตงและการแบงตามเนื้อหาออกเปน 4

               ประเภท คือ

                       1.  ประเภทรอยแกว คือ วรรณกรรมที่ไมมีลักษณะบังคับ ไมบังคับจํานวนคํา สัมผัส หรือเสียง
               หนักเบาวรรณกรรมที่แตงดวยรอยแกว ไดแก นิทาน นิยาย นวนิยาย เรื่องสั้น สารคดี บทความ ขาว

                       2.  ประเภทรอยกรอง คือ วรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแตง ซึ่งเรียกวาฉันทลักษณ เชน

               โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย ลิลิต วรรณกรรมที่แตงดวยคําประเภทรอยกรอง ไดแก บทละคร นิยาย บท

               พรรณนา บทสดุดี บทอาเศียรวาท
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75