Page 234 - Book-LP-Pichit_524 PAGES_1800 Smallest
P. 234
หลวงปู่อีก หลวงปู่ก็ตอบจดหมายกลับมาว่า “...การภาวนาจริง ๆ
ื
ั
ี
น้น มันต้องมีสงบ มีเส่อมอย่างน้แหละ มันต้องเป็นอย่างน้ไปกัน
ี
ั
ั
ื
ท้งน้น.. คุณทาได้แล้วเส่อมมาห้าหกทีก็ว่ามันมากแล้ว ผมเองภาวนา
�
อยู่กับอาจารย์ของผมเป็นเวลาถ้ึง ๒๐ - ๓๐ ปี.. แต่ยังไงก็ตามที.. ให้
ั
่
ุ
�
�
สามารถ้ทาได้จนช้านาญนนแหละเป็นจดมุ่งหมาย ไม่ใช้่ว่าทาแล้ว
�
ั
ื
เพ่อว่าเราจะทรงอยู่นานอย่างน้ำนดอก แต่เราท�าเพ่อว่าจะเข้าช้�านาญ
ื
ี
่
ออกช้�านาญ ประการส�าคัญพยายามฝึกฝนให้มี สติ.. อย่างทค�า
�
ิ
ั
ผมบอกไว้น่นแหละ.. เรียกว่า “ต้งสตกาหนดจิต” น่นเอง..” หลวงปู่
ั
ั
ี
้ำ
ท่านบอกมาว่าอย่างนนะ ทาให้เรารู้สึกว่าความพากความเพียรของเรา
�
้ำ
ั
�
ั
้ำ
ู
นนถ้ึงจะมีอย่แต่มันก็ยังไม่มากพอ มันต้องมากกว่านน ต้องทา
�
ั
ู
ั
ช้านาญกว่านน แล้วก ทจะรกษาความสงบได้มนต้องร้ด้วยตนเองว่า
ั
่
้ำ
็
ี
เราจะรักษาประคับประคองยังไง การเฝ้าสังเกตระมัดระวังอยู่หรือ
รักษาจิตของตนให้อยู่ในสภาวะแวดล้อมอย่างไร มันจะต้องรู้ได้ด้วยตน
ั
ของตนเอง ซึ่่งในแต่ละสภาวะในแต่ละโอกาสน้ำนเป็นของตนโดยเฉพาะ
ึ
จะรู้จักวางจิตวางใจยังไง ตงใจพอด ๆ ความเพ่งความระมัดระวังต้อง
้ำ
ั
ี
ทายังไง ไม่ใช่เคร่งครัดจนเกินไปหรือปล่อยหละหลวมจนหลุดไป
�
ความตงม่นของจิตสลายหลุดหายไปอย่างท่เราเป็นมา คาตอบของ
�
ั
ั
้ำ
ี
หลวงปู่ท�าให้เราเข้าใจว่าต้องท�าอยู่เร่อย ๆ แล้วจะรู้เองว่าจะรักษาจิต
ื
ไว้อย่างไร เรียกว่าเป็น ปัจจัตตัง รู้เอง เห็นเอง น้นแล....
ั
l
220 พระพิชิต ชิตมาโร