Page 95 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 95

ชุดวิชาที่ ๔

                                      พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม




           ๔.๑  ความหมายและที่มาของคำาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับพลเมือง

                    ำ
                                                                 ำ
                                                                      ้
                      ่
                                                    ่
                                                                              ำ
                  ค�ว� “พลเมือง” มีคว�มหม�ยในหล�ยแงมุม และมีก�รน�ไปใชเทียบกับค�อื่นๆ อ�ทิ ประช�กร
           ประช�ชน ปวงชน และร�ษฎร์ ฯลฯ แต่ห�กพิจ�รณ�ให้ละเอียดจะส�ม�รถทำ�คว�มเข้�ใจคว�มหม�ย
           ของคำ�ต่�งๆ ที่คล้�ยกัน ได้ดังนี้
                  ประชาชน หม�ยคว�มถึง คนทั่วไป คนของประเทศ ซึ่งไม่ใช่ผู้ปกครอง เป็นส�มัญชนอยู่ภ�ยใต้
           รัฐ เช่น ประช�ชนทุกคนมีหน้�ที่ต้องรู้กฎหม�ย ใครจะปฏิเสธว่�ไม่รู้ไม่ได้
                  ประชากร หม�ยถึง คนโดยทั่วไป โดยมักใช้ในกรณีพิจ�รณ�ถึงจำ�นวน
                  ราษฎร ค�ว่� “ร�ษฎร” เป็นค�เก่�แก่ที่มีใช้กันม�น�น ในกฎหม�ยสมัยกรุงศรีอยุธย�และ
                           ำ
                                             ำ
                                     ้
                                      ำ
                                        ่
                                                                      ่
                                                                                          ้
                                                                                      ำ
                                                                                   ็
                                                                                             ่
                                                                       ่
           กฎหม�ยตร�ส�มดวง ก็มีก�รใชค�ว� “ร�ษฎร” หม�ยถึงคนโดยทั่วไป แตว� “ร�ษฎร” เปนค�ที่ใชในชวง
            สมัยรัชก�ลที่ ๕ เนื่องจ�กสังคมไทยสมัยโบร�ณ ประช�ชนเป็นไพร่หรือท�สเกือบทั้งหมด พอม�ถึงช่วง
                                                                                            ำ
                                                                                           ่
                       ้
           รัชก�ลที่ ๕ ไดมีก�รเปลี่ยนแปลงก�รบริห�รร�ชก�รแผนดินครั้งใหญและไดท�ก�รเลิกท�สเลิกไพรท�ให ้
                                                                        ้
                                                                   ่
                                                                          ำ
                                                        ่
                                                                                              ่
                                                            ้
                                                                 ้
                                                          ็
                                                    ่
                                                      ้
                       ่
                                 ็
           ประช�ชนเหล�นั้นกล�ยเปนร�ษฎรหรือเสรีชนที่ไมตองเปนข�รับใชมูลน�ยและมีสถ�นะท�งกฎหม�ยเท�
           เทียมกัน จึงเรียกอดีตไพร่ ท�ส ขุนน�ง รวมทั้งชนชั้นใหม่ๆ ว่� “ร�ษฎร”ในคว�มหม�ยของ ผู้ที่ต้องเสีย
           ภ�ษีให้กับรัฐและต้องปฏิบัติต�มกฎหม�ยของบ้�นเมืองเช่นเดียวกันหมด
                  ปัจจุบันคำ�ว่�ร�ษฎร และประช�ชน มีคว�มหม�ยเกือบจะเหมือนกัน แต่ประช�ชน สื่อถึงก�ร
           เป็นเจ้�ของประเทศ และเจ้�ของอำ�น�จอธิปไตย ม�กกว่�ร�ษฎร ส่วนร�ษฎรมีนัยของคนที่เสียเปรียบ
                                                                  ่
                                                                ำ
                                                             ่
                                                                             ่
                                                                                        ็
           คนที่ดอยกว�อยูดวย และมีนัยคว�มหม�ยเปนท�งก�รนอยกว�ค�ว� ประช�ชนเชน แมเร�จะเปนร�ษฎร
                                                                                 ้
                     ่
                 ้
                                                         ้
                          ้
                         ่
                                               ็
           ธรรมด� แต่ถ้�ผู้บริห�รประเทศคดโกงฉ้อร�ษฎร์บังหลวง เร�ก็ต้องไปคัดค้�น ที่ผ่�นม�ข้�ร�ชก�รมักจะ
           กดขี่ร�ษฎร ดั้งนั้น ร�ษฎรแปลว่� คนของรัฐ เดิมหม�ยถึง ส�มัญชน คือคนที่ไม่ใช่ขุนน�ง โดยทั่วไปมัก
           หม�ยถึง คนธรรมด� หมู่คนที่มิใช่ข้�ร�ชก�ร
                  พลเมือง คำ�ว่� “พลเมือง” เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเกิดก�รปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เริ่มต้นเมื่อปี ค.ศ.
           ๑๗๘๙ ช�วฝรั่งเศสลุกฮือกันขึ้นม�ล้มล้�งระบอบก�รปกครองของพระเจ้�หลุยส์ที่ ๑๖ ล้มล้�งระบบ
           ชนชั้นต่�งๆขณะนั้นได้แก่ พระร�ชวงศ์ ขุนน�งข้�ร�ชก�ร สมณะ นักพรต นักบวช และไพร่ ประก�ศ
           คว�มเสมอภ�คของช�วฝรั่งเศสทุกคน ต่อม�คำ�ว่� “Citoyen” จึงแปลเป็น “Citizen” ในภ�ษ�อังกฤษ
                    ำ
                                                             ำ
                  ส�หรับประเทศไทย ค�ว่� “พลเมือง” น่�จะถูกน�ม�ใช้สมัยหลังเปลี่ยนแปลงก�รปกครอง
                                     ำ
                                ำ
           พ.ศ.๒๔๗๕เนื่องจ�กผู้น�คณะร�ษฎรบ�งท่�นเคยเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส จึงได้น�เอ�ค�นี้ม�ใส่ไว้ใน
                                                                               ำ
                                                                                    ำ
           รัฐธรรมนูญฉบับถ�วร ซึ่งประก�ศใช้เมื่อวันที่ ๑๐ ธันว�คม พ.ศ. ๒๔๗๕ ต่อม�กล�ยเป็นวิช�บังคับที่
           นักเรียนชั้นมัธยมศึกษ�จะต้องเรียนควบคู่กับวิช�ศีลธรรม กล�ยเป็นวิช� “หน้�ที่พลเมืองและศีลธรรม”
           88      ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100