Page 98 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 98

ำ
                  กล่�วโดยสรุป “พลเมือง” มีคว�มแตกต่�งจ�กค�ว่� “ประช�ชน” และ “ร�ษฎร” ตรงที่ว่�
           พลเมืองจะแสดงออกถึงคว�มกระตือรือร้นในก�รรักษ�สิทธิต่�งๆ ของตน รวมถึงก�รมีส่วนร่วมท�งก�ร

           เมืองโดยก�รแสดงออกซึ่งสิทธิ เสรีภ�พในก�รแสดงคว�มคิดเห็น คว�มเป็นพลเมือง (Citizen) มีคว�ม
           หม�ยที่สะท้อนให้เห็นถึงบทบ�ท หน้�ที่ และคว�มรับผิดชอบของสม�ชิกท�งสังคมที่มีต่อรัฐ ต่�งจ�กคำ�

           ว่� ประช�ชน ที่กล�ยเป็นผู้รับคำ�สั่งทำ�ต�มผู้อื่น ดังนั้น ก�รเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญจึงอยู่ที่ก�รเปลี่ยนให้
           ประช�ชนคนธรรมด� กล�ยเป็นพลเมืองที่มีสิทธิกำ�หนดทิศท�งของประเทศได้


           ๔.๒  ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง
                  ๔.๒.๑  ความหมายของพลเมืองศึกษา

                                                                                  ์
                  พลเมืองศึกษ� (Civic education) หม�ยถึง ก�รจัดก�รศึกษ�และประสบก�รณเรียนรูเพื่อพัฒน�
                                                                                       ้
             ้
                                                                                              ่
                   ้
           ผูเรียนใหเปนพลเมืองดีของประเทศ มีคว�มภ�คภูมิใจในคว�มเปนพลเมืองตนเอง มีสิทธิมีเสียง สนใจตอ
                                                                ็
                     ็
           ส่วนรวม และมีส่วนร่วมในกิจก�รบ้�นเมืองต�มระบอบก�รปกครองแบบประช�ธิปไตย หรือก�รเรียนรู้
           เกี่ยวกับรัฐบ�ล รัฐธรรมนูญ กฎหม�ย ระบบก�รเมืองก�รปกครองสิทธิและคว�มรับผิดชอบของพลเมือง
           ระบบก�รบริห�รจัดก�รส�ธ�รณะและระบบตุล�ก�ร
                  ๔.๒.๒  คุณลักษณะของพลเมือง

                  “พลเมือง” ในระบอบประช�ธิปไตย ประกอบด้วยลักษณะ ๖ ประก�ร (ปริญญ� เทว�นฤมิต
           รกุล, ๒๕๕๕) คือ
                                           ้
                  ๑)  มีอิสรภ�พและพึ่งตนเองได หม�ยคว�มว� ประช�ธิปไตย คือ ระบอบก�รปกครองที่ประช�ชน
                                                      ่
                 ้
                                                              ้
                                                           ็
                                                                            ็
                                                                               ้
             ็
           เปนเจ�ของอำ�น�จสูงสุดในประเทศ ประช�ชนจึงมีฐ�นะเปนเจ�ของประเทศ เปนเจ�ของชีวิตและมีสิทธิ
           เสรีภ�พในประเทศของตนเอง ระบอบประช�ธิปไตยจึงทำ�ให้เกิดหลักสิทธิเสรีภ�พ และทำ�ให้ประช�ชน
           มีอิสรภ�พ คือ เป็นเจ้�ของชีวิตตนเอง “พลเมือง” ในระบอบประช�ธิปไตยจึงเป็นไท คือ เป็นอิสระชนที่
                                                                                              ์
                                                   ่
                                                            ่
           พึ่งตนเองและส�ม�รถรับผิดชอบตนเองได และไมยอมตกอยูภ�ยใตอิทธิพลอำ�น�จ หรือ “ระบบอุปถัมภ”
                                                                 ้
                                             ้
           ของผู้ใด
                                                                                      ำ
                  ๒)  เห็นคนเท่�เทียมกัน หม�ยคว�มว่� ประช�ธิปไตยคือระบอบก�รปกครองที่อ�น�จสูงสุด
           ในประเทศเป็นของประช�ชน ดังนั้น ไม่ว่�ประช�ชนจะแตกต่�งกันอย่�งไรทุกคนล้วนแต่เท่�เทียมกัน
                     ็
           ในฐ�นะที่เปนเจ�ของประเทศ “พลเมือง” จึงตองเค�รพหลักคว�มเสมอภ�คและจะตองเห็นคนเท�เทียม
                         ้
                                                 ้
                                                                                ้
                                                                                          ่
           กัน คือ เห็นคนเป็นแนวระน�บ (horizontal) เห็นตนเท่�เทียมกับคนอื่น ทุกคนล้วนมีศักดิ์ศรีของคว�ม
           เป็นเจ้�ของประเทศอย่�งเสมอกัน ถึงแม้จะมีก�รพึ่งพ�อ�ศัยแต่จะเป็นไปอย่�งเท่�เทียม
                  ๓)  ยอมรับคว�มแตกต่�ง หม�ยคว�มว่� ประช�ธิปไตย คือ ระบอบก�รปกครองที่ประช�ชน
           เป็นเจ้�ของประเทศ ประช�ชนจึงมีเสรีภ�พ ระบอบประช�ธิปไตยจึงให้เสรีภ�พและยอมรับคว�มหล�กหล�ย
           ของประช�ชน ประช�ชนจึงแตกต�งกันได ไมว�จะเปนเรื่องก�รเลือกอ�ชีพ วิถีชีวิต คว�มเชื่อท�งศ�สน�
                                                 ่
                                                ่
                                             ้
                                                      ็
                                       ่
                                                              ำ
           หรือคว�มคิดเห็นท�งก�รเมือง ดังนั้น เพื่อมิใหคว�มแตกต�งน�ม�ซึ่งคว�มแตกแยกในสังคม “พลเมือง”
                                                 ้
                                                          ่
                                                        หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต”  91
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103