Page 99 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 99
่
้
่
่
ในระบอบประช�ธิปไตยจึงตองยอมรับและเค�รพคว�มแตกต�งของกันและกัน เพื่อใหส�ม�รถอยูรวมกัน
้
ได้ และจะต้องไม่มีก�รใช้คว�มรุนแรงต่อผู้ที่เห็นแตกต่�งไปจ�กตนเอง
้
่
้
็
๔) เค�รพสิทธิผูอื่น หม�ยคว�มว� ในระบอบประช�ธิปไตยทุกคนเปนเจ�ของประเทศทุกคนจึงมี
่
้
้
่
็
์
ำ
่
สิทธิแตถ�ทุกคนใชสิทธิโดยค�นึงถึงแตประโยชนของตนเอง หรือเอ�แตคว�มคิดของตนเองเปนที่ตั้ง โดย
้
่
่
ำ
่
่
้
่
้
ำ
้
้
ไมค�นึงถึงสิทธิผูอื่น หรือไมสนใจว�จะเกิดคว�มเดือดรอนแกผูใดยอมจะท�ใหเกิดก�รใชสิทธิที่กระทบซึ่ง
กันและกัน สิทธิในระบอบประช�ธิปไตยจึงจำ�เป็นต้องมีขอบเขต คือ มีสิทธิและใช้สิทธิได้เท่�ที่ไม่ละเมิด
สิทธิผู้อื่น “พลเมือง” ในระบอบประช�ธิปไตยจึงต้องเค�รพสิทธิผู้อื่นและจะต้องไม่ใช้สิทธิเสรีภ�พของ
ตนไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ำ
่
๕) รับผิดชอบตอสังคม หม�ยคว�มว� ประช�ธิปไตยมิใชระบอบก�รปกครองต�มอ�เภอใจหรือ
่
่
ใครอย�กจะทำ�อะไรก็ทำ�โดยไม่คำ�นึงถึงส่วนรวม ดังนั้น “พลเมือง” ในระบอบประช�ธิปไตยยังจะต้อง
ใช้สิทธิเสรีภ�พของตนโดยรับผิดชอบต่อสังคมด้วย ด้วยเหตุที่สังคมหรือประเทศช�ติมิได้ดีขึ้นหรือแย่ลง
โดยตัวเอง ห�กสังคมจะดีขึ้นได้ก็ด้วยก�รกระทำ�ของคนในสังคม
๖) เข้�ใจระบอบประช�ธิปไตยและมีส่วนร่วม หม�ยคว�มว่� ประช�ธิปไตยคือก�รปกครอง
โดยประช�ชน ใช้กติก�หรือกฎหม�ยที่ม�จ�กประช�ชนหรือผู้แทนประช�ชน ระบอบประช�ธิปไตย
ำ
จะประสบคว�มส�เร็จได้ก็ต่อเมื่อมี “พลเมือง” ที่เข้�ใจหลักก�รพื้นฐ�นของก�รปกครองในระบอบ
ประช�ธิปไตยต�มสมควร ทั้งในเรื่องหลักประช�ธิปไตยหรือก�รปกครองโดยประช�ชน และหลักนิติ
รัฐหรือก�รปกครองโดยกฎหม�ย ถ้�มีคว�มขัดแย้งก็เค�รพกติก�และใช้วิถีท�งประช�ธิปไตยในก�รแก้
ปัญห�โดยไม่ใช้กำ�ลังหรือคว�มรุนแรง
๔.๓ องค์ประกอบของการศึกษาความเป็นพลเมือง
ส�หรับนักวิช�ก�รต่�งประเทศ ได้เขียนบทคว�มวิช�ก�รเกี่ยวกับก�รศึกษ�เพื่อสร้�งพลเมือง
ำ
อ�ทิ John Porter เขียนบทคว�มเรื่อง “The Challenge of education for active citizenship”
โดยอธิบ�ยก�รศึกษ�คว�มเป็นพลเมืองว่�มี ๓ ประเด็นที่เชื่อมกับมิติพลเมือง ก�รเมือง และสังคม ทั้งนี้
พลเมืองประกอบด้วย สิทธิจ�เป็นสำ�หรับคว�มอิสระ เสรีภ�พระดับปัจเจกบุคคล ก�รเมืองประกอบด้วย
ำ
สิทธิในก�รมีส่วนร่วมในก�รใช้อ�น�จท�งก�รเมือง ส่วนสังคมประกอบด้วยสิทธิที่มีต่อสวัสดิก�รท�ง
ำ
เศรษฐกิจ และคว�มมั่งคงที่มีต่อสิทธิที่จะร่วมมือกัน และเพื่ออ�ศัยอยู่ในชีวิตของคว�มศิวิไล
๔.๓.๑ ความรับผิดชอบทางสังคม (Social Responsibility)
ก�รเรียนรู้ของเด็กจะเริ่มต้นจ�กคว�มไว้ใจตนเอง เกี่ยวกับสังคม ศีลธรรม พฤติกรรมคว�ม
รับผิดชอบทั้งในและอยู่เหนือห้องเรียน ก�รเรียนรู้ของเด็กควรท�หรือแสดงบทบ�ทในกลุ่มหรือ
ำ
มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
๔.๓.๒ ความเกี่ยวพันชุมชน (Community Involvement)
ก�รเรียนรู้ผ่�นชุมชนหรือก�รบริก�รในชุมชนมี ๒ ส�ข�ของคว�มเป็นพลเมือง มันไม่จำ�กัดเวล�
ของเด็กที่โรงเรียน แต่ควรรับรู้ในฐ�นะเป็นกลุ่มอ�ส�สมัครที่ไม่เป็นก�รเมือง
92 ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)