Page 96 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 96

ี
                           ็
                               ้
                      ่
                  ในสวนที่เปนหน�ที่พลเมืองก็ลอกม�จ�กบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฉบับป ๒๔๗๕ เรื่อยม�จนถึง
           รัฐธรรมนูญ ฉบับปี ๒๔๗๕ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๔๙๕ และเลิกใช้เมื่อจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำ�ก�ร
                                                      ้
                                                ่
           รัฐประห�รเมื่อวันที่ ๑๖ กันย�ยน ๒๕๐๐ แตวิช�หน�ที่พลเมืองก็ยังคงเรียนและสอนกันตอม�อีกหล�ยป  ี
                                                                                   ่
                              ำ
                                                                             ำ
           จึงเลิกไปพร้อมๆ กับค�ว่� “พลเมือง” โดยต่อม�ก็ใช้ค�ว่� “ปวงชน” แทน ค�ว่�ร�ษฎรคงเป็นก�ร
                                                         ำ
                   ำ
                                        ำ
           ใช้แทนค�ว่� “ประช�ชน” หรือค�ว่� People ในภ�ษ�อังกฤษ อ�จจะม�จ�กอิทธิพลของอเมริก�
            สืบเนื่องม�จ�กสุนทรพจน์เกตทีสเบิร์กของประธ�น�ธิบดีอับร�ฮัม ลินคอล์น ที่ให้ค�จ�กัดคว�มของ
                                                                                 ำ
                                                                                    ำ
            รัฐบ�ลประช�ธิปไตยไว้ว่� เป็น “รัฐบ�ลของประช�ชน โดยประช�ชน และเพื่อประช�ชน”
           แต่แทนที่เร�จะใช้คำ�ว่� “ประช�ชน” แทนคำ�ว่� “ร�ษฎร” เร�กลับใช้คำ�ว่� “ปวงชน” แทน อย่�งไร
                   ำ
            ก็ต�ม ค�ว่�ปวงชนก็ใช้แต่ในรัฐธรรมนูญฉบับต่�งๆ เท่�นั้น แต่ไม่ติดป�กที่จะใช้กันทั่วไปในที่อื่นๆ
            ไม่ว่�ในหน้�หนังสือพิมพ์หรือในสื่ออื่นๆ ยังนิยมใช้คำ�ว่� “ประช�ชน” ม�กกว่�คำ�ว่� “ปวงชน”
                  อย่�งไรก็ต�ม คำ�ว่� “พลเมือง” ได้ม�ปร�กฏอีกครั้งในร่�งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน เริ่มตั้งแต่
            หมวดที่ ๒ ประช�ชน ส่วนที่ ๑ คว�มเป็นพลเมืองและหน้�ที่ของพลเมือง ม�ตร� ๒๖ บัญญัติไว้ว่�
                                                                                ำ
           “ประช�ชนช�วไทยย่อมมีฐ�นะเป็นพลเมือง” ที่น่�สังเกตก็คือ ในม�ตร�นี้ใช้ค�ว่� “ประช�ชน”
                         ำ
                                                                      ำ
           ช�วไทย แทนค�ว่� “ปวงชน” ช�วไทยที่เขียนไว้ในม�ตร� ๓ “อ�น�จอธิปไตยเป็นของปวงชน
            ช�วไทย” และม�ตร� ๕ “ปวงชนช�วไทยไม่ว่�เหล่�กำ�เนิดเพศหรือศ�สน�ใด ย่อมอยู่ในคว�มคุ้มครอง
                                                       ำ
            แห่งรัฐธรรมนูญเสมอกัน” ซึ่งร่�งรัฐธรรมนูญมีทั้งค�ว่� “ปวงชน” “ประช�ชน” และ “พลเมือง”
            ในที่ต่�งๆ แทนคำ�ว่� “ปวงชน” เหมือนรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ (วีรพงษ์ รามางกูร, ๒๕๕๘)

                  สำ�หรับคำ�ว่� “พลเมือง” มีนักวิช�ก�รให้คว�มหม�ย สรุปได้พอสังเขป
                  พจน�นุกรมนักเรียนฉบับร�ชบัณฑิตยสถ�น ให้คว�มหม�ย “พลเมือง” หม�ยถึง ช�วเมือง
            ช�วประเทศประช�ชน“วิถี” หม�ยถึง ส�ย แนว ท�ง ถนน และ “ประช�ธิปไตย” หม�ยถึง แบบก�ร

            ปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ ดังนั้น คำ�ว่� “พลเมืองดีในวิถีชีวิตประช�ธิปไตย” จึงหม�ยถึง พลเมือง
            ที่มีคุณลักษณะที่ส�คัญ คือ เป็นผู้ที่ยึดมั่นในหลักศีลธรรมและคุณธรรมของศ�สน� มีหลักก�รท�ง
                           ำ
                                                          ำ
            ประช�ธิปไตยในก�รด�รงชีวิตปฏิบัติตนต�มกฎหม�ยด�รงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมีก�รช่วย
                              ำ
                                                                    ็
                                                                  ้
                              ่
                                 ้
            เหลือเกื้อกูลกันอันจะกอใหเกิดก�รพัฒน�สังคมและประเทศช�ติ ใหเปนสังคมและประเทศประช�ธิปไตย
            อย่�งแท้จริง
                                                                                        ้
                                                                                       ้
                                                                       ็
                         ์
                  วร�ภรณ ส�มโกเศศ อธิบ�ยว� คว�มเปนพลเมือง หม�ยถึง ก�รเปนคนที่รับผิดชอบไดดวยตนเอง
                                          ่
                                                  ็
            มีคว�มสำ�นึกในสันติวิธี มีก�รยอมรับคว�มคิดเห็นของผู้อื่น
                  ปริญญ� เทว�นฤมิตรกุล กล่�วว่� คว�มเป็นพลเมืองของระบอบประช�ธิปไตย หม�ยถึง
            ก�รที่สม�ชิกมีอิสรภ�พ ควบคู่กับคว�มรับผิดชอบ และมีอิสรเสรีภ�พควบคู่กับ “หน้�ที่ ”
                  จ�กคว�มหม�ยของนักวิช�ต่�งๆ พอสรุปได้ว่� “พลเมือง” หม�ยถึง ประช�ชนที่นอกจ�ก
            เสียภ�ษีและปฏิบัติต�มกฏหม�ยบ้�นเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบ�ทในท�งก�รเมือง คือ อย่�งน้อยมีสิทธิไป






                                                        หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต”  89
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101