Page 56 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 56
กิจกรรม Active Learning การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย
ชุดกิจกรรม เรียนรู้ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย
�
การจัดกิจกรรมประวัติศาสตร์สุโขทัย ผู้นากิจกรรมไม่มีความจาเป็นต้องเน้นข้อมูล
�
�
ประวัติศาสตร์เฉพาะประเด็นบุคคลสาคัญสมัยสุโขทัย รูปแบบการปกครอง หรือมิติเศรษฐกิจ
เพียงอย่างเดียว ทั้งนี้ เพราะยังมีเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สุโขทัย เช่น วิถีชีวิต
วรรณกรรม ความเช่อ ประเพณี หรือภูมิปัญญา ซ่งสามารถหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ึ
ื
ที่หลากหลายให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้ศึกษา
ิ
ั
ิ
กจกรรม เรยนร้ภมปัญญาสมยสโขทย ใช้ข้อมลเรองของสงก่อสร้างทปรากฏในสมย
ี
ู
ู
ิ
่
ี
ั
่
ั
ุ
ู
่
ื
ี
ื
ื
ื
้
�
ั
�
�
สุโขทัยเป็นตัวดาเนินเร่อง คือ สรีดภงส์ หรือ เข่อนก้นนา แต่นาเสนอในรูปแบบท่เช่อมโยงความคิด
ไปสู่ภูมิปัญญา ทั้งนี้ ตลอดเวลาการจัดกิจกรรม ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้ฝึกทักษะทางประวัติศาสตร์
คือ การรู้จักหลักฐานท่เก่ยวข้องกับภูมิปัญญาการจัดการนา หลักฐานท่เก่ยวกับเมืองสุโขทัย
ี
ี
�
้
ี
ี
และหลักฐานอื่น ๆ เช่น ภาพถ่าย แผนที่ทางภูมิศาสตร์ เป็นต้น
ี
กิจกรรมน้ ผู้นากิจกรรมจะแบ่งผู้ร่วมกิจกรรมออกเป็นกลุ่ม ในแต่ละกลุ่ม แบ่งกลุ่มย่อย
�
ั
ี
ุ
๒ กล่ม เล่นบทบาทสมมตเป็นทหารของจกรพรรดกบไลข่านทมความประสงค์จะมาสบข่าว
ุ
ิ
ี
่
ิ
ื
ุ
�
ั
ู
ื
ี
เมองสโขทยและสารวจภมศาสตร์ของเมอง เพอนาไปส่การตดสนใจทจะยกกองทพ
ุ
�
ื
ื
่
่
ู
ิ
ั
ั
ิ
ื
เข้าตีเมืองสุโขทัย เม่อผู้ร่วมกิจกรรมแบ่งกลุ่มเรียบร้อย จะได้รับเอกสารกลุ่มละ ๑ ชุด ท่มีเน้อหา
ี
ื
ี
แตกต่างกัน หลังจากอ่านเอกสารแล้ว ผู้ร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายถึงข้อมูลท่กลุ่มตนได้รับ
พร้อมระบุหลักฐาน ท้งน้ เน้อหาชุดข้อมูลในแต่ละกลุ่มจะมีความขัดแย้งกันเอง กล่าวคือ ชุดข้อมูล
ี
ั
ื
้
�
ั
ท่แสดงว่าสุโขทัยอุดมสมบูรณ์ และชุดข้อมูลท่แสดงว่าสุโขทัยมีความแห้งแล้ง ต้งอยู่ไกลจากแหล่งนา
ี
ี
�
เม่อผู้ร่วมกิจกรรมได้อภิปรายผลแล้ว ผู้นากิจกรรมจะสรุปให้เห็นว่าหากข้อมูลประวัติศาสตร์
ื
มีความไม่สอดคล้องกัน จาเป็นต้องศึกษาเอกสารเพ่มเติม โดยอาจใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์อ่น ๆ
ื
�
ิ
เพิ่มเติม เช่น จารึก โบราณสถาน ภาพถ่าย รายงานการขุดค้นทางโบราณคดี เป็นต้น
ี
ผู้ร่วมกิจกรรมเม่อปฏิบัติกิจกรรมน้จะได้ฝึกทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเม่อได้ศึกษา
ื
ื
เอกสารทั้งหมดแล้ว มีการบันทึกข้อมูลที่ได้รับลงกระดาษ สรุปข้อดี ข้อเสีย และแนวทางแก้ไข
�
ปัญหาการจัดการนา นอกจากน้ ผู้ร่วมกิจกรรมจะได้รับข้อมูลเพ่มเติมเก่ยวกับการจัดการนา
�
้
ิ
้
ี
ี
ี
�
�
้
ื
ั
�
�
้
้
ั
ในสมัยสุโขทัย ท่มีการทาเข่อนก้นนาและขุดคลองเพ่อนานาเข้ามาในเมือง จากน้นมีการเก็บกักนาไว้ใช้
ื
�
ตามแหล่งโบราณสถาน ที่เรียกว่า ตระพัง ผู้น�ากิจกรรมอาจเชื่อมโยงถึงเมืองต่าง ๆ ที่มีลักษณะ
แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ : 43
ประวัติศาสตร์ชาติไทย