Page 24 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 24
การไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหลักประกัน
ในการให้ความเป็นธรรมกับผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาหรือไม่ ?
ื
ั
ในการไต่สวนข้อเท็จจริง นอกจากจะพิจารณาว่าเร่องกล่าวหาน้นเข้า
�
่
ั
ู
ี
หลกเกณฑ์และอย่ในอานาจหน้าทของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แล้ว
�
คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะพิจารณาและคานึงถึงหลักความเป็นธรรมของ
ผู้กล่าวหาและถูกกล่าวหาในการไต่สวนข้อเท็จจริง ดังนี้
1. ไม่แต่งตั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นอนุกรรมการไต่สวน
2. แจ้งค�าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ
3. เปิดโอกาสให้ยื่นคัดค้านผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นอนุกรรมการไต่สวน
4. ให้ผู้ถูกกล่าวหาช้แจงแก้ข้อกล่าวหาและน�าสืบแก้ข้อกล่าวหา
ี
ี
ภายในเวลาอันสมควร และมีสิทธินาทนายความหรือบุคคลท่ไว้วางใจเข้าฟัง
�
ในการชี้แจงหรือให้ปากค�าของตนได้
ผู้ถูกกล่าวหารายใดถูกคณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด
ผู้กระท�าความผิดจะถูกด�าเนินการอย่างไร ?
กรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. วินิจฉัยว่าข้อกล่าวหาไม่มีมูล ให้ข้อกล่าว
หาน้นตกไป แต่หากข้อกล่าวหาใดมีมูลความผิดทางวินัยหรือความผิดทาง
ั
อาญา จะด�าเนินการแยกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
การด�าเนินการทางวินัย มีดังนี้
1. คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะส่งรายงานเอกสารรวมทั้งความเห็น ไปยัง
ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอ�านาจแต่งตั้งถอดถอนของผู้ถูกกล่าวหา
ั
�
2. ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่งต้งถอดถอน ต้องพิจารณาลงโทษ
ั
ิ
ทางวินัยตามฐานความผิดท่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมต โดยไม่ต้องแต่งต้ง
ี
คณะกรรมการสอบสวนวินัยอีก
24