Page 29 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 29
2. คดีทุจริตไม่มีอายุความ
ี
ุ
�
ิ
ื
�
ิ
ู
การดาเนนทางอาญาในคดทจรต ถ้าผู้ถกกล่าวหาหรอจาเลย
หลบหนีไปในระหว่างถูกด�าเนินคดีหรือระหว่างการพิจารณาของศาล กฎหมาย
ไม่ให้นับระยะเวลาท่ผู้ถูกกล่าวหาหรือจาเลยหลบหนีรวมเป็นส่วนหน่งของ
�
ี
ึ
�
ิ
ี
ื
ุ
ี
�
อายความ และเม่อศาลได้มคาพพากษาถึงท่สุดให้ลงโทษจาเลย ถ้าจาเลยหลบหนี
�
ไปในระหว่างต้องค�าพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษ กฎหมายไม่ให้นับอายุความใน
�
ระหว่างท่จาเลยหลบหน (ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
ี
ี
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 มาตรา 74/1)
จะไม่เหมือนกับคดีอาญาทั่วไป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 98
3. บทลงโทษภาคเอกชนที่ทุจริต
ภาคเอกชนหรือประชาชนที่ให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ
ี
ประโยชน์อ่นใดแก่เจ้าหน้าท่ของรัฐ เจ้าหน้าท่ของรัฐต่างประเทศ หรือ
ื
ี
�
เจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ เพื่อจูงใจให้กระทาการ ไม่กระทาการ
�
ี
่
�
�
หรือประวิงการกระทาอันมิชอบด้วยหน้าท ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี
ั
�
หรือปรับไม่เกินหน่งแสนบาท หรือท้งจาท้งปรับ (ตามพระราชบัญญัต ิ
ึ
ั
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2558 มาตรา 123/5)
4. การริบทรัพย์สินในคดีทุจริต
ื
การริบทรัพย์สินเน่องจากการกระท�าความผิดคดีทุจริต นอกจาก
ั
ิ
�
ี
ศาลจะมีอานาจรบทรพย์สินตามกฎหมายท่บญญัติไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้ศาล
ั
�
มีอานาจสั่งให้ริบทรัพย์สินดังต่อไปนี้ด้วย
�
(1) ทรัพย์สินที่บุคคลได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทาความผิด
(2) ทรัพย์สินหรือประโยชน์อันอาจค�านวณเป็นราคาเงินได้ท ี ่
บุคคลได้มาจากการกระท�าความผิด หรือจากการเป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุน หรือ
�
ผู้โฆษณาหรือประกาศให้ผู้อื่นกระทาความผิด
29