Page 28 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 28
มาตรา 11 “เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐผู้ใด หรือผู้ได้รับมอบหมาย
�
�
�
จากหน่วยงานของรัฐผู้ใด โดยทุจริตทาการออกแบบ กาหนดราคา กาหนด
�
เง่อนไข หรือกาหนดผลประโยชน์ตอบแทน อันเป็นมาตรฐานในการเสนอ
ื
ราคา โดยมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันในการเสนอราคาอย่างเป็นธรรม หรือเพื่อ
�
ช่วยเหลือให้ผู้เสนอราคารายใดได้มีสิทธิเข้าทาสัญญากับหน่วยงานของรัฐ
โดยไม่เป็นธรรม หรือเพ่อกีดกันผู้เสนอราคารายใดมิให้มีโอกาสเข้าแข่งขัน
ื
ุ
�
่
ิ
ในการเสนอราคาอย่างเป็นธรรม ต้องระวางโทษจาคกตงแต่ห้าปีถงยสบปี
ี
ั
้
ึ
หรือจ�าคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท”
ั
้
ี
ท้งน ผู้ทุจริตยังอาจต้องรับผิดทางละเมิดและชดใช้ค่าเสียหายให้แก่
หน่วยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท ี ่
พ.ศ. 2539 ด้วยนะครับ
นอกจากน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน
้
ี
และปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 ได้มีผลบังคับใช้แล้วตั้งแต่
วันที่ 10 กรกฎาคม 2558 โดยมีสาระส�าคัญเกี่ยวกับการเพิ่มโทษหนักส�าหรับ
ี
�
ี
เจ้าหน้าท่ของรัฐท่ทุจริตรับสินบน การกาหนดความผิดของเอกชนท่ทุจริต
ี
ให้สินบน การไม่นับอายุความในระหว่างที่จ�าเลยหลบหนีคดี และสาระส�าคัญ
อื่นๆ อีก ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1. คดีทุจริตมีโทษสูงสุดคือประหารชีวิต
เจ้าหน้าท่ของรัฐ เจ้าหน้าท่ของรัฐต่างประเทศ หรือเจ้าหน้าท่ของ
ี
ี
ี
ื
องค์การระหว่างประเทศ เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่นใด
ื
�
สาหรับตนเองหรือผู้อ่นโดยมิชอบ เพ่อกระท�าการหรือไม่กระท�าการอย่างใด
ื
ในตาแหน่งไม่ว่าการน้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าท ต้องระวางโทษจ�าคุก
�
ั
่
ี
ั
ึ
ี
ั
ต้งแต่ห้าปีถึงย่สิบปี หรือจ�าคุกตลอดชีวิต และปรับต้งแต่หน่งแสนบาทถึงส ี ่
แสนบาท หรือประหารชีวิต (ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 มาตรา 123/2)
28