Page 26 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 26
ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2536 ว่าควรลงโทษ
�
ี
ื
ไล่ออกจากราชการ การนาเงินท่ทุจริตไปมาคืนหรือมีเหตุอันควรปรานีอ่นใด
ไม่เป็นเหตุลดหย่อนโทษลงเป็นปลดออกจากราชการ โดยส่วนราชการต้องถือ
ปฏิบัติ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ถูกลงโทษไม่มีสิทธิได้รับเงินบ�าเหน็จบ�านาญเลย
การด�าเนินการทางอาญาเป็นอย่างไร ?
การด�าเนินการทางอาญา มีดังนี้
็
ประธานกรรมการ ป.ป.ช. จะส่งรายงาน เอกสาร และความเหน
ไปยังอัยการสูงสุด หรือฟ้องคดีต่อศาลกรณีผู้ถูกกล่าวหาเป็นอัยการสูงสุด
�
ี
�
เพ่อดาเนินคดีอาญาในศาลท่มีเขตอานาจพิจารณาพิพากษา โดยให้ถือว่า
ื
รายงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสานวนการสอบสวนตามประมวล
�
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และศาลจะประทับฟ้องไว้พิจารณาโดย
ไม่ต้องไต่สวนมูลฟ้อง
ก รณีท่อัยการสูงสุดเห็นว่ารายงานดังกล่าวยังไม่สมบูรณ์ คณะกรรมการ
ี
ป.ป.ช. กับอัยการสูงสุดจะแต่งตั้งคณะท�างานร่วมกันขึ้นมาเพื่อรวบรวมพยาน
หลักฐานให้สมบูรณ์ แต่ถ้าหาข้อยุติร่วมกันไม่ได้ คณะกรรมการ ป.ป.ช.
จะมีอ�านาจในการฟ้องคดีเองหรือแต่งตั้งทนายให้ฟ้องคดีแทนได้
ผู้กระท�าผิดอาญาฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ จะต้องรับโทษ
อย่างไร ?
ประมวลกฎหมายอาญาได้กาหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทาความผิดเก่ยว
�
ี
�
กับการทุจริตไว้ ตัวอย่างเช่น
มาตรา 147 “ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ท�า จัดการหรือรักษา
ทรัพย์ใด เบียดบังทรัพย์นั้นเป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดย
ทุจริตยอมให้ผู้อ่นเอาทรัพย์นั้นเสีย ต้องระวางโทษจาคุกต้งแต่ห้าปีถึงย่สิบปี
ี
ื
�
ั
หรือจ�าคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท”
26