Page 25 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 2
P. 25
ิ
ิ
3. ในการพจารณาโทษทางวนัย ให้ถือว่ารายงานเอกสารและความ
�
เห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสานวนการสอบสวนทางวินัยของ
คณะกรรมการสอบสวนวินัย
ี
กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับเก่ยวกับวินัย
ให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอ�านาจแต่งตั้งถอดถอนด�าเนินการตามอ�านาจหน้าที่
�
ั
4. ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่งต้งถอดถอนพิจารณาลงโทษ
�
ื
ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับเร่องจากคณะกรรมการ ป.ป.ช และให้ส่งสาเนา
ค�าสั่งลงโทษไปให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ออกค�าสั่ง
ั
ี
�
5. ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่งต้งถอดถอนท่ละเลยไม่ดาเนินการ
�
ั
ตามข้อ 3 และข้อ 4 ให้ถือว่าผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอานาจแต่งต้งถอดถอน
�
กระท�าผิดวินัย
6. ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาไม่ด�าเนินการทางวินัย หรือด�าเนินการไม่ถูก
ต้อง หรือไม่เหมาะสม คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอานาจเสนอความเห็น
�
่
ี
ี
ื
�
ี
่
ั
ไปยังนายกรัฐมนตรเพ่อสงการตามทเห็นสมควร หรือในกรณีท่จาเป็น
�
คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะส่งองค์กรกลางบริหารงานบุคคลพิจารณาดาเนิน
ั
การให้ถูกต้องเหมาะสมก็ได้
7. ผู้ถูกลงโทษทางวินัยดังกล่าว มีสิทธิอุทธรณ์ดุลยพินิจในการ
สั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชาได้ ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีค�าสั่งลงโทษ
ผู้กระท�าผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการ จะต้องรับโทษอย่างไร ?
�
�
สาหรับบทลงโทษผู้กระทาผิดวินัยฐานทุจริตต่อหน้าท่ราชการ ตาม
ี
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ถือเป็นความผิดวินัย
ร้ายแรงให้ลงโทษปลดออกหรือไล่ออก หรือเป็นความผิดตามบทกาหนดโทษ
�
ของแต่ละหน่วยงานซ่งเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารบคคลของ
ึ
ุ
หน่วยงานนั้นๆ
25