Page 103 - BookHISTORYFULL.indb
P. 103

โดยปกติหลักฐานช้นต้นมักเป็นท่สนใจและให้ความสาคัญ มากกว่าหลักฐาน
                                                                      �
                                                      ี
                                           ั
                                                     ึ
                     ช้นรองเพราะมีความคิดว่า หลักฐานท่เกิดข้นใกล้ชิดเหตุการณ์มากเท่าไร ความถูกต้องย่อม
                      ั
                                                 ี
                     มีมากขึ้นเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตามหลักฐานชั้นต้น ก็อาจให้ข้อมูลที่ผิดพลาดได้ เนื่องจาก
                                 (๑) ผู้สร้างหลักฐานไม่มีความเข้าใจอย่างแท้จริงในเหตุการณ์น้น ส่งท ี ่
                                                                                   ั
                                                                                       ิ
                            ั
                                               ์
                                      ิ
                            ้
                                                                          ิ
                                                                     ู
                                                                            ึ
                                                                            ้
                                                             ื
                                               ิ
                                                                   ้
                                                             ่
                     รายงานนนเป็นความจรงโดยบริสุทธใจ ความคลาดเคลอนของขอมล จึงเกดขนได้โดยไม่เจตนา
                                               ื
                                                                         ่
                                           ิ
                                     ้
                                     ั
                                                                                ื
                                                             ิ
                                                                ื
                                                                ่
                                                 ิ
                                                    ื
                                                                        ์
                                                                                       ิ
                                 (๒) ตงใจปกปดหรอบดเบอนความจรงเพอประโยชนสวนตนหรอรกษาสทธ   ิ
                                                                                  ั
                                                       ี
                     บางอย่างของผู้สร้างหลักฐานหรือกลุ่มคนท่ตนรู้จักหรือความนิยมส่วนตัวทาให้ไม่เห็น
                                                                                �
                     ข้อบกพร่องหรือข้อเสียของฝ่ายตน รวมท้งนาความรู้สึกส่วนตัวไปปะปนหรือบิดเบือน
                                                        �
                                                      ั
                     รายงานให้คลาดเคลื่อนได้
                                                    ี
                                                                  ื
                                 (๓) อยู่ในบริบทของเวลาท่มีความคิด ความเช่อและอิทธิพลทางสังคมครอบงา �
                                                                   ั
                                 (๔) ผู้สร้างหลักฐานไม่ได้รายงานความเจริญท้งหมดให้ครบถ้วน แต่รายงาน
                                            ื
                                                                       ื
                     บางส่วนหรือรายงานคลาดเคล่อนจากความจริงเป็นบางส่วนอาจเพ่อความรักชาติ  ปกป้อง
                     สถาบันหรือมีเจตนาอื่นแอบแฝง
                                               ั
                                 ดังน้น หลักฐานช้นรอง แม้จะมีข้นภายหลังเหตุการณ์ แต่ถ้าได้สอบสวน
                                                           ึ
                                    ั
                                                       ิ
                                                         ่
                                                         ี
                                                                ่
                                                                      ั
                                                                  ็
                     ขอเทจจรงอยางถองแทแลว กอาจใหความจรงทถกตองกวากได ดงนนไมวาหลกฐานชนตน
                                                                    ้
                                                            ้
                                                          ู
                                                                                        ้
                      ้
                         ็
                                  ่
                                                                                ั
                               ่
                                           ็
                                      ้
                                                                             ่
                                        ้
                                                                         ้
                                                                                     ั
                                                                         ั
                            ิ
                                                                                     ้
                                                                            ่
                                                ้
                                 ั
                     หรือหลักฐานช้นรองก็ต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบหรือประเมินค่าตามวิธีการ
                     ทางประวัติศาสตร์ ทั้งสิ้น
                                 ส่งท่ครูควรทาความเข้าใจก่อนว่า เม่อพูดถึงหลักฐานทางประวัติศาสตร์
                                  ิ
                                           �
                                                              ื
                                    ี
                     เราเน้นที่ “ข้อมูล” ที่บรรจุอยู่ในหลักฐาน ซึ่งโดยทั่วไปเราเรียกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่
                     เราต้องการศึกษาว่า “ข้อเท็จจริง” อันเป็นการเตือนใจผู้ศึกษาอดีตว่า ข้อมูลที่ได้อาจมีทั้ง
                     ข้อเท็จจริงและ  ข้อจริง นักประวัติศาสตร์บางท่าน เช่น
                                                                      �
                                 นิธิ  เอียวศรีวงศ์  และ อาคม  พัฒิยะ ได้ใช้ศัพท์คาว่า “ข้อสนเทศ” หมายถึง
                             ี
                     ข้อความท่บรรจุอยู่ในหลักฐานและอธิบายว่า “ข้อสนเทศน้แหละ คือ ตัวหลักฐาน
                                                                      ี
                     ทางประวัติศาสตร์”   โดยยกตัวอย่างว่า เจดีย์ทรงลังกาในเขตเมืองอโยธยา  (เมืองที่ตั้งอยู่
                     ก่อนจะเกดกรงศรอยุธยาในท้องท่เดยวกน) อาจไม่มข้อความใดจารึกไว้เลย แต่เป็น
                                    ี
                                ุ
                                                                ี
                             ิ
                                                      ั
                                                ี
                                                  ี
                     หลักฐานทางประวัติศาสตร์  เพราะรูปทรงของเจดีย์บอกให้เรารู้ว่า  พุทธศาสนานิกาย
                     เถรวาทตามคติลังกา  อาจแพร่มาถึงแถบเมืองอโยธยา  ก่อนหน้า พ.ศ. ๑๘๙๓ สิ่งที่เจดีย์
                     ทางลังกาบอกนี้  คือ  ข้อสนเทศซึ่งถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพราะฉะนั้น เมื่อเรา
                     พูดว่า หลักฐานใดน่าเช่อถือหรือไม่  เราจึงหมายถึง ข้อสนเทศท่ถูกบรรจุไว้ในศิลา กระดาษ
                                                                    ี
                                      ื
                     เจดีย์  ผ้า ฝาผนัง หรือความทรงจ�าของคน ฯลฯ  แต่มิได้หมายถึงวัตถุหรือบุคคลที่ธ�ารงข้อ
                     สนเทศนั้นๆ ไว้
                                                                                           101
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108